ภาษาพาสนุก

วันพุธที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2553

เกี่ยวข้องกับหลักสูตร

แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
























สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ






พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ )
พ.ศ. ๒๕๔๕ พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง และพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. ๒๕๔๕ มุ่งเน้นให้การปฏิรูประบบบริหารและการจัดการทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยให้มีเอกภาพทางนโยบายและมีความหลากหลายในทางปฏิบัติ มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกระทรวงศึกษาธิการได้มีคำสั่งให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในโรงเรียนต้นแบบและโรงเรียนที่มีความพร้อมใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๕๒ และใช้ในโรงเรียนทั่วประเทศ ในปีการศึกษา๒๕๕๓ โดยกำหนดให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีบทบาทสำคัญในการจัดทำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นเพื่อเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและความต้องการของท้องถิ่นสู่การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโดยคณะบุคคลผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย
เอกสารฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้โรงเรียนใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบองค์ประกอบในเอกสารหลักสูตรโรงเรียน เพื่อให้ทราบจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาปรับปรุงแก้ไข ให้มีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และบริบทของโรงเรียน
ขอขอบคุณคณะทำงาน คณะศึกษานิเทศก์และโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรที่ให้ข้อเสนอแนะในการนำเอกสารนี้ไปใช้ หากมีข้อคิดเห็นที่จะเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงแก้ไขเอกสาร คณะทำงานยินดีปรับปรุงเพื่อให้เอกสารมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น



สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน










เรื่อง หน้า
คำนำ
ส่วนที่ ๑ แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน .................................
ส่วนที่ ๒ องค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน .......................................................................
ส่วนที่ ๓ การตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน .............................................
ส่วนที่ ๔ สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน .....................
ภาคผนวก
รายชื่อคณะทำงาน ………………………………………………………………………...




๒๓
๒๘

๓๑


















แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน
วัตถุประสงค์
การตรวจสอบเอกสารหลักสูตรโรงเรียนมีวัตถุประสงค์ดังนี้
๑. เพื่อหาทางแก้ไขปรับปรุงสิ่งที่พบในองค์ประกอบหลักสูตร การตรวจสอบในลักษณะนี้สามารถทำในขณะที่กำลังยกร่างเอกสารหลักสูตรหรือในขณะที่นำหลักสูตรไปใช้ เพื่อพิจารณาว่าองค์ประกอบของหลักสูตรที่จัดทำมีความเหมาะสมและสอดคล้องเพียงใด เพื่อหาแนวทางแก้ไขและปรับปรุงให้ดีขึ้น
๒. เพื่อเป็นข้อมูลในการช่วยตัดสินใจของผู้บริหาร ก่อนการนำหลักสูตรไปใช้ เพื่อพิจารณาว่าหลักสูตรที่ยกร่างหรือจัดทำมีความครอบคลุมหรือไม่ และเมื่อโรงเรียนใช้หลักสูตรไปได้ระยะหนึ่ง ควรนำข้อมูลในส่วนนี้ไปสรุปรวมกับการประเมินคุณภาพของหลักสูตรว่า มีคุณภาพดีมากน้อยเพียงไร บรรลุตามมาตรฐานและตัวชี้วัดที่แกนกลางกำหนดหรือไม่ และเหมาะสมจะนำหลักสูตรนี้ไปใช้ต่อหรือไม่

ข้อเสนอแนะในการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน ดำเนินการดังนี้
๑. ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ
๒. สร้างความเข้าใจและชี้แจงวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรให้บุคลากรในโรงเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง
๓. ดำเนินการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียนเป็นรายบุคคล
๔. หลังจากการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตร ควรจัดให้มีการประชุมเสนอผลการตรวจสอบในภาพรวม ปัญหา ข้อแนะนำ เพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น













องค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเป็นการจัดทำเอกสารในระดับโรงเรียน โดยองค์คณะบุคคลได้แก่คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ เมื่อจัดทำเอกสารหลักสูตรโรงเรียนเสร็จเรียบร้อย การจัดทำรูปเล่มและการจัดแบ่งจำนวนเล่มของหลักสูตรโรงเรียนขึ้นอยู่กับการพิจารณาตามความเหมาะสมของโรงเรียน เพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการ และการนำไปใช้ ส่วนองค์ประกอบของหลักสูตรโรงเรียน หากไม่นับรวมปกของหลักสูตรและประกาศของโรงเรียนแล้ว ควรมีองค์ประกอบที่สำคัญของหลักสูตรโรงเรียน ดังนี้
๑. ส่วนนำ
- ความนำ
- วิสัยทัศน์โรงเรียน
- สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
๓. คำอธิบายรายวิชา
๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๕. เกณฑ์การจบการศึกษา

ทั้งนี้ ในการจัดทำรูปเล่มหลักสูตรโรงเรียนในส่วนของหน้าปกหลักสูตรโรงเรียนและประกาศโรงเรียนเรื่องให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนนั้น สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาได้กำหนดรูปแบบเป็นตัวอย่างให้โรงเรียนได้ปรับใช้ตามความเหมาะสม









ตัวอย่างที่ ๑ ปกหลักสูตรโรงเรียน



หลักสูตรโรงเรียน…………………….
พุทธศักราช ....... (ปีที่เริ่มใช้หลักสูตรโรงเรียน)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑







สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.............
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ





ตัวอย่างที่ ๒ ปกหลักสูตรโรงเรียน




หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียน…………………….
พุทธศักราช ....... (ปีที่เริ่มใช้หลักสูตรโรงเรียน)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑







สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.............
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



ตัวอย่างที่ ๑ ประกาศโรงเรียนเรื่องให้ใช้หลักสูตร





ประกาศโรงเรียน......................
เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียน ........................พุทธศักราช ........(ปีที่ใช้หลักสูตร)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑


................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่...... เดือน............ พ.ศ. ....... จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

ประกาศ ณ (วันที่/เดือน/ปี)


……………………………
(..........................................)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน …………………………… (..........................................)
ผู้อำนวยการโรงเรียน................




ตัวอย่างที่ ๒ ประกาศโรงเรียนเรื่องให้ใช้หลักสูตร





ประกาศโรงเรียน......................
เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียน ........................พุทธศักราช ........(ปีที่ใช้หลักสูตร)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑


................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่...... เดือน............ พ.ศ. ....... จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

ประกาศ ณ (วันที่/เดือน/ปี)


…………………………… (..........................................)
ผู้อำนวยการโรงเรียน...




๑. ส่วนนำ ประกอบด้วย
๑.๑ ความนำ
แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กับกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น จุดเน้น และความต้องการของโรงเรียน
๑.๒ วิสัยทัศน์โรงเรียน
เป็นเจตนารมณ์ อุดมการณ์ หลักการ ความเชื่อ อนาคตที่พึงประสงค์ เอกลักษณ์ของโรงเรียน เพื่อสร้างศรัทธา จุดประกายความคิดในการพัฒนาองค์กร และคุณภาพผู้เรียน ที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น จุดเน้น และความต้องการของโรงเรียน
๑.๓ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ระบุสมรรถนะจำเป็นพื้นฐาน ๕ ประการที่ผู้เรียนพึงมี ซึ่งกำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นั้น เป็นคุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนอาจจะเพิ่มเติมตามจุดเน้นของโรงเรียนที่สอดคล้องกับกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นและวิสัยทัศน์ของโรงเรียนได้ตามความเหมาะสม

๒. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบด้วยโครงสร้างเวลาเรียนและโครงสร้างหลักสูตรชั้นปี
๒.๑ โครงสร้างเวลาเรียน เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระที่เป็นเวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนเพิ่มเติม และเวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำแนกแต่ละชั้นปี







ตัวอย่างที่ ๑ โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน
ระดับประถมศึกษา
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
o ประวัติศาสตร์ (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐)
o ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
o หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐)
o เศรษฐศาสตร์
o ภูมิศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
 รายวิชา / กิจกรรม ที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ตามความพร้อมและจุดเน้น ปีละ ๔๐ ชั่วโมง
 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
o กิจกรรมแนะแนว

o กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือยุวกาชาด






- ชุมนุม
o กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลา
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลาทั้งหมด ไม่เกิน ๑,๐๐๐ ชั่วโมง ไม่เกิน ๑,๐๐๐ ชั่วโมง
หมายเหตุ ให้โรงเรียนระบุเวลาเรียนตามที่โรงเรียนกำหนด

ตัวอย่างที่ ๒ โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ๖
 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.)
คณิตศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.)
วิทยาศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.)
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๓๒๐ (๘ นก.)
o ประวัติศาสตร์ ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
o ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

o หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ๑๒๐ (๓นก.) ๑๒๐ (๓นก.) ๑๒๐ (๓นก.) ๒๔๐ (๖นก.)
o ภูมิศาสตร์
o เศรษฐศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑๒๐ (๓นก.)
ศิลปะ ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
ภาษาต่างประเทศ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.)
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๑,๖๔๐ (๔๑ นก.)
 รายวิชาเพิ่มเติม ปีละไม่เกิน ๒๐๐ ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า ๑,๖๐๐ชั่วโมง
 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
o กิจกรรมแนะแนว

o กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือ ยุวกาชาดฯ




- ชุมนุม
o กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐
รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี รวม ๓ ปี
ไม่น้อยกว่า ๓,๖๐๐ ชั่วโมง
หมายเหตุ ให้โรงเรียนระบุเวลาเรียนตามที่โรงเรียนกำหนด

๑๐

๒.๒ โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวิชาพื้นฐาน
รายวิชา / กิจกรรมเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในแต่ละชั้นปี
ตัวอย่างที่ ๑ โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ปี)
รายวิชาพื้นฐาน ๘๔๐
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐
ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐
ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ๔๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐
รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม
ท๑๑๒๐๑ ทักษะการเขียน ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐
 กิจกรรมแนะแนว ๓๐
 กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ๔๐
ชมรม/ชุมนุม ๔๐
 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น ๑,๐๐๐






๑๑
ตัวอย่างที่ ๒ โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ปี)
รายวิชาพื้นฐาน ๘๘๐
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๔๐

ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐
ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐
ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ๔๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐
รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม
-- --
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐
 กิจกรรมแนะแนว ๔๐
 กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ๔๐
ชมรม/ชุมนุม ๓๐
 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น ๑,๐๐๐









๑๒

ตัวอย่างที่ ๓ โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ปี)
รายวิชาพื้นฐาน ๘๘๐
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๔๐

ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐
ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐
ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐
รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม
-- --
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐
 กิจกรรมแนะแนว ๓๕
 กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ๔๐
ชมรม/ชุมนุม ๔๐
 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๕
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น ๑,๐๐๐








๑๓
ตัวอย่างที่ ๔ โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ภาคเรียนที่ ๑ (หน่วยกิต/ชม.) ภาคเรียนที่ ๒ (หน่วยกิต/ชม.)
รายวิชาพื้นฐาน ๑๑ (๔๔๐) รายวิชาพื้นฐาน ๑๑ (๔๔๐)
ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)
ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
ส๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑.๕ (๖๐) ส๒๑๑๐๓ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑.๕ ( ๖๐)
ส๒๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๐.๕ (๒๐)
พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ (๔๐) พ๒๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ (๔๐)
ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ (๔๐) ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๑ (๔๐)
ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑ (๔๐) ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑ (๔๐)
อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ๑.๕ (๖๐) อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ๑.๕ (๖๐)
รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๕ (๑๐๐) รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๕ (๑๐๐)
ค๒๑๒๐๑ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๐.๕ (๒๐) ค๒๑๒๐๒ คณิตศาสตร์ GSP ๐.๕ (๒๐)
อ๒๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๐.๕ (๒๐) ส๒๑๒๐๑ ท้องถิ่นของเรา ๐.๕ (๒๐)
ง๒๑๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๑ ๑ (๔๐) ง๒๑๒๐๓ คอมพิวเตอร์ ๒ ๑ (๔๐)
ง๒๑๒๐๒ งานประดิษฐ์ ๐.๕ (๒๐) ง๒๑๒๐๔ งานช่าง ๐.๕ (๒๐)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐
 กิจกรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมแนะแนว ๑๕
 กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ - เนตรนารี
ชุมนุม
๒๐
๑๕  กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ - เนตรนารี
ชุมนุม
๒๐
๑๕
 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๕  กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น ๖๐๐ รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น ๖๐๐








๑๔
๓. คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา ประกอบด้วย รหัสวิชา ชื่อรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นปี
จำนวนเวลาเรียน และ/หรือหน่วยกิตที่สอนตลอดปีหรือตลอดภาคเรียน การเขียนคำอธิบายรายวิชา
เขียนเป็นความเรียง ระบุองค์ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นภาพรวมที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนและสะท้อนตัวชี้วัดในรายวิชาพื้นฐาน หรือผลการเรียนรู้ในรายวิชาเพิ่มเติม และระบุรหัสตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชานั้น ๆ การเขียนคำอธิบายรายวิชาแต่ละระดับการศึกษา ควรเขียนภาพรวมของรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ว่ามีการจัดการเรียนการสอนวิชาอะไรบ้าง (ใบสรุปคำอธิบายรายวิชาแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้)

ตัวอย่างรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้

ตัวอย่างที่ ๑ รายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับประถมศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง

รายวิชาเพิ่มเติม
ท๑๑๒๐๑ ทักษะการพูด จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
ท๑๒๒๐๑ ทักษะการอ่าน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
ท๑๓๒๐๑ ทักษะการเขียน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
ท๑๔๒๐๑ วรรณกรรมท้องถิ่น จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
ท๑๕๒๐๑ การเขียนสร้างสรรค์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
ท๑๖๒๐๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร จำนวน ๔๐ ชั่วโมง





๑๕

ตัวอย่างที่ ๒ รายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น


รายวิชาพื้นฐาน
ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต
ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต
ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต
ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต
ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต
ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต

รายวิชาเพิ่มเติม
ท๒๑๒๐๑ เสริมทักษะการอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หน่วยกิต
ท๒๑๒๐๒ เสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกิต
ท๒๒๒๐๑ เสริมทักษะอ่านบทประพันธ์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หน่วยกิต
ท๒๒๒๐๒ เสริมทักษะการเขียนเรื่องสั้น จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หน่วยกิต
ท๒๓๒๐๑ เสริมทักษะการเขียนสร้างสรรค์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หน่วยกิต
ท๒๓๒๐๒ เสริมทักษะการพูดในที่ชุมชน จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกิต












๑๖
ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา
ระดับประถมศึกษา
ตัวอย่างที่ ๑ คำอธิบายรายวิชา

ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...........................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
รหัสตัวชี้วัด
ศ ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ศ ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ศ ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓,ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ศ ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ศ ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖
ศ ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวมทั้งหมด ๒๖ ตัวชี้วัด

ตัวอย่างที่ ๒ คำอธิบายรายวิชา

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...........................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
รหัสตัวชี้วัด
ศ ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ศ ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ศ ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓,ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ศ ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ศ ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖
ศ ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวมทั้งหมด ๒๖ ตัวชี้วัด




๑๗
ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา
ระดับมัธยมศึกษา
ตัวอย่างที่ ๑ คำอธิบายรายวิชา

ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...........................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
รหัสตัวชี้วัด
ระบุรหัสตัวชี้วัดที่แบ่งเป็นรายภาคตามความเหมาะสม
รวมทั้งหมด.......................ตัวชี้วัด


ตัวอย่างที่ ๒ คำอธิบายรายวิชา

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...........................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
รหัสตัวชี้วัด
ระบุรหัสตัวชี้วัดที่แบ่งเป็นรายภาคตามความเหมาะสม
รวมทั้งหมด.......................ตัวชี้วัด








๑๘
ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ตัวอย่างที่ ๑ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ระดับประถมศึกษา

ท๑๔๒๐๑ วรรณกรรมท้องถิ่น
รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...........................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
ผลการเรียนรู้
๑. ............................................................................
๒ .............................................................................
๓. ............................................................................
ฯลฯ
รวมทั้งหมด ......... ผลการเรียนรู้


ตัวอย่างที่ ๒ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ระดับประถมศึกษา

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ท๑๔๒๐๑ วรรณกรรมท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...........................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
ผลการเรียนรู้
๑. ............................................................................
๒ .............................................................................
๓. ............................................................................
ฯลฯ
รวมทั้งหมด ......... ผลการเรียนรู้



๑๙

ตัวอย่างที่ ๓ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษา

ท๒๒๒๐๑ เสริมทักษะอ่านบทประพันธ์
รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หน่วยกิต
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
ผลการเรียนรู้
๑. ............................................................................
๒ .............................................................................
๓. ............................................................................
ฯลฯ
รวมทั้งหมด ....... ผลการเรียนรู้



ตัวอย่างที่ ๔ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษา

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ท๒๒๒๐๑ เสริมทักษะอ่านบทประพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หน่วยกิต
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
ผลการเรียนรู้
๑. ............................................................................
๒ .............................................................................
๓. ............................................................................
ฯลฯ
รวมทั้งหมด ....... ผลการเรียนรู้



๒๐
๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวการเขียนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของโรงเรียน แยกเป็น ๓ กิจกรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้แก่ ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนักเรียน และ ๓) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในแต่ละกิจกรรมให้ระบุแนวการจัดกิจกรรม
เวลาการจัดกิจกรรม และแนวทางการประเมินกิจกรรมที่โรงเรียนกำหนด

ตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเอง ได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
โรงเรียน....................................................................... ได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยแบ่งออกเป็น ๓ ลักษณะ ดังนี้
๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้........................................
.................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………
นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนว ๔๐ ชั่วโมงต่อปีการศึกษา (ระดับประถมศึกษา)๒๐ ชั่วโมงต่อภาคเรียน (ระดับมัธยมศึกษา)
แนวการจัดกิจกรรมแนะแนว
............................................................................................................................
...................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้.........................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................ กิจกรรมนักเรียนประกอบด้วย
๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ...... ชั่วโมงต่อปีการศึกษา (ระดับประถมศึกษา) ......... ชั่วโมงต่อภาคเรียน (ระดับมัธยมศึกษา)


๒๑
แนวการจัดกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด
.............................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
๒.๒ กิจกรรมชุมนุม นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุม ...... ชั่วโมงต่อปีการศึกษา (ระดับประถมศึกษา) ........ ชั่วโมงต่อภาคเรียน (ระดับมัธยมศึกษา)
แนวการจัดกิจกรรมชุมนุม
................................................................................ ....................................................................................................................................................
............................................................................................................................…………………
( หมายเหตุ สามารถระบุชื่อกิจกรรมชุมนุมที่โรงเรียนจัดให้นักเรียนเลือกเรียน หรือชื่อกิจกรรมชุมนุมที่ โรงเรียนจัดให้มี)
๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้ ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………
นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ...... ชั่วโมงต่อปีการศึกษา (ระดับประถมศึกษา) ......... ชั่วโมงต่อภาคเรียน (ระดับมัธยมศึกษา)
แนวการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ .................................................................................... ...................................................................................................................................................
............................................................................................................................................……..
.....................................................................................................................................................
แนวทางการประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
...........................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
( หมายเหตุ การประเมินผลอาจเขียนแยกการประเมินผลแต่ละกิจกรรม หรือเขียนรวมในภาพรวมของ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนก็ได้ )
๒๒

๕. เกณฑ์การจบการศึกษา
กำหนดเกณฑ์การจบการศึกษาของโรงเรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ แยกตามระดับการศึกษาที่โรงเรียนเปิดสอนอย่างชัดเจน

ตัวอย่าง










การตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน


วัตถุประสงค์
๑. เพื่อตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียนว่ามีองค์ประกอบครบถ้วนและสอดคล้อง
กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๒. เพื่อนำผลการตรวจสอบไปปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรโรงเรียนให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น

วิธีดำเนินการ
๑. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน
๒. โรงเรียนนำผลการตรวจสอบ มาอภิปรายร่วมกันและสรุปเป็นภาพรวมของโรงเรียน
และพิจารณาหาแนวทางปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น













๒๔


แบบตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน


โรงเรียน …….……………………………….. อำเภอ ………………………. จังหวัด …………………….
สพท. ……………………………………………เขต………………………..……………………………...


คำชี้แจง
ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้ที่เกี่ยวข้องดำเนินการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน ตามลำดับดังนี้
๑. ตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วเขียนเครื่องหมาย ลงในช่องผลการตรวจสอบตามความเป็นจริง
๒. บันทึกแนวทางในการปรับปรุง/แก้ไขแต่ละรายการเพื่อให้โรงเรียนนำไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนต่อไป
๓. หากมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะอื่น ให้บันทึกลงในข้อเสนอแนะ อื่นๆ
๔. สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน โดยเขียนเครื่องหมาย ลงในตารางแสดงผล การตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน


การให้ระดับคุณภาพ
คณะกรรมการฯ ให้ระดับคุณภาพตามที่ได้พิจารณาตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษา โดยเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับคุณภาพ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ครบถ้วน ถูกต้อง สอดคล้อง เหมาะสม ทุกรายการ
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง มีครบทุกรายการ แต่มีบางรายการควรปรับปรุงแก้ไข
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ไม่มี มีไม่ครบทุกรายการ ไม่สอดคล้อง ต้องปรับปรุงแก้ไขหรือ
เพิ่มเติม





๒๕
องค์ประกอบของหลักสูตรโรงเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
รายการ ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข
๓ ๒ ๑
๑ ส่วนนำ
๑.๑ ความนำ
แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น จุดเน้น และความต้องการ ของโรงเรียน
๑.๒วิสัยทัศน์
๑.๒.๑ แสดงภาพอนาคตที่พึงประสงค์ของผู้เรียนที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑อย่างชัดเจน
๑.๒.๒ แสดงภาพอนาคตที่พึงประสงค์ของผู้เรียนสอดคล้องกับกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
๑.๒.๓ แสดงภาพอนาคตที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ครอบคลุมสภาพความต้องการของโรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น
๑.๒.๔ มีความชัดเจนสามารถปฏิบัติได้
๑.๓ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
มีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑.๔.๑ มีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑.๔.๒ มีความสอดคล้องกับเป้าหมายจุดเน้น กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
๑.๔.๓ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน
๒. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
๒.๑ โครงสร้างเวลาเรียน
๒.๑.๑ มีการระบุเวลาเรียนของ ๘ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ ที่เป็นเวลาเรียนพื้นฐานและเพิ่มเติม จำแนกแต่ละชั้นปีอย่างชัดเจน
๒.๑.๒ มีการระบุเวลาจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจำแนกแต่ละชั้นปีอย่างชัดเจน
๒.๑.๓ เวลาเรียนรวมของหลักสูตรสถานศึกษาสอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑


๒๖

รายการ ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข
๓ ๒ ๑
๒.๒ โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี
๒.๒.๑ มีการระบุรายวิชาพื้นฐานทั้ง ๘ กลุ่มสาระสารเรียนรู้ พร้อมทั้งระบุเวลาเรียนและหรือหน่วยกิต
๒.๒.๒ มีการระบุรายวิชาเพิ่มเติมที่สถานศึกษากำหนด พร้อมทั้งระบุเวลาเรียนและหรือหน่วยกิต
๒.๒.๓ มีการระบุกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พร้อมทั้งระบุเวลาเรียน
๒.๒.๔ มีรายวิชาพื้นฐานที่ระบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนเวลาเรียน และหรือหน่วยกิต ไว้อย่างถูกต้องชัดเจน
๒.๒.๕ มีรายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรมเพิ่มเติม สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ จุดเน้นของโรงเรียน
๓. คำอธิบายรายวิชา
๓.๑ มีการระบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา และชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ไว้อย่างถูกต้องชัดเจน
๓.๒ มีการระบุชั้นปีที่สอนและจำนวนเวลาเรียนและ/หรือหน่วยกิต ไว้อย่างถูกต้องชัดเจน
๓.๓ การเขียนคำอธิบายรายวิชา เขียนเป็นความเรียง โดยระบุองค์ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะหรือ เจตคติที่ต้องการ
๓.๔ มีการจัดทำคำอธิบายรายวิชาพื้นฐานครอบคลุมตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๓.๕ มีการระบุรหัสตัวชี้วัด ในรายวิชาพื้นฐาน และจำนวนรวมของตัวชี้วัด
๓.๖ มีการระบุผลการเรียนรู้ ในรายวิชาเพิ่มเติม และจำนวนรวมของผลการเรียนรู้
๓.๗ มีการกำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสอดแทรก อยู่ในคำอธิบายรายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชาเพิ่มเติม
๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๔.๑ จัดกิจกรรมทั้ง ๓ กิจกรรมตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

๒๗
รายการ ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข
๓ ๒ ๑
๔.๒ จัดเวลาทั้ง ๓ กิจกรรมสอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๔.๓ มีแนวทางการจัดกิจกรรมที่ชัดเจน
๔.๔ มีแนวทางการประเมินกิจกรรมที่ชัดเจน
๕. เกณฑ์การจบการศึกษา
๕.๑ มีการระบุเวลาเรียน/หน่วยกิต รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ตามเกณฑ์การจบหลักสูตรของโรงเรียนไว้อย่างชัดเจนและสอดคล้องกับโครงสร้างหลักสูตรของโรงเรียน
๕.๒ มีการระบุเกณฑ์การประเมินการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียนไว้อย่างชัดเจน
๕.๓ มีการระบุเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ไว้อย่างชัดเจน
๕.๔ มีการระบุเกณฑ์การผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ไว้อย่างชัดเจน

ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
ลงชื่อ ………………………………… ผู้ตรวจสอบ
( …………………………….... )
ตำแหน่ง ...................................................
………/………../………







สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน
โรงเรียน..............................................................อำเภอ.......................................................
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา………………… เขต …..
***********************
ตอนที่ ๑ ตารางแสดงผล การตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน
ที่ รายการตรวจสอบโรงเรียน ผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตร
ระดับคุณภาพ
๓ ๒ ๑
๑ ส่วนนำ
๒ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
๓ คำอธิบายรายวิชา
๔ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๕ เกณฑ์การจบการศึกษา

ตอนที่ ๒ สรุปผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน จุดเด่น จุดที่ต้องเพิ่มเติมและพัฒนา
จุดเด่นของหลักสูตรโรงเรียน
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
/จุดที่ต้องเพิ่ม...
๒๙
จุดที่ต้องเพิ่มเติม /พัฒนา
๑ . ส่วนนำ
๑.๑ ความนำ
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๑.๒ วิสัยทัศน์โรงเรียน
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๑.๓. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๑.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๒. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๓. คำอธิบายรายวิชา
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๕. เกณฑ์การจบการศึกษา
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ลงชื่อ................................................... ผู้รับรองข้อมูล
(.......................................................)
ตำแหน่ง ..................................................






































ที่ปรึกษา
๑. นางเบญจาลักษณ์ น้ำฟ้า ผู้อำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๒. นางภาวนี ธำรงเลิศฤทธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๓. นางสาวรุ่งนภา นุตราวงศ์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
คณะทำงานจัดทำเอกสาร ครั้งที่ ๑
๑. นายมนตรี อุสาหะ ศึกษานิเทศก์ สพท.ลพบุรี เขต ๑ ประธาน
๒. ว่าที่ ร.ต.อุดมศักดิ์ ธนะกิจรุ่งเรือง นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา รองประธาน
๓. นางฉัตรแก้ว เภาวิเศษ ศึกษานิเทศก์ สพท.กรุงเทพมหานคร เขต ๓ กรรมการ
๔. นางสาวรัชนีวัลย์ จุลบาท ศึกษานิเทศก์ สพท.ศรีสะเกษ เขต ๓ กรรมการ
๕. นางทัศนีย์ สุวรรณพงษ์ ศึกษานิเทศก์ สพท.สมุทรสาคร กรรมการ
๖. นางธนาลัย ลิมปรัตนคีรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห์ ๑” กรรมการ
๗. นางภาวนี ธำรงเลิศฤทธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๘. นางปานทิพย์ จตุรานนท์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๙. นางมัทนา มรรคผล นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๑๐. นายอนุจินต์ ลาภธนาภรณ์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการและเลขานุการ
คณะทำงานจัดทำเอกสาร ครั้งที่ ๒ และ ๓
๑. นายมนตรี อุสาหะ ศึกษานิเทศก์ สพท.ลพบุรี เขต ๑ ประธาน
๒. ว่าที่ ร.ต.อุดมศักดิ์ ธนะกิจรุ่งเรือง นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา รองประธาน
๓. นายชาติ แจ่มนุช ศึกษานิเทศก์ สพท.กรุงเทพมหานคร เขต ๑ กรรมการ
๔. นางสาวนวลน้อย เจริญผล ศึกษานิเทศก์ สพท.กรุงเทพมหานคร เขต ๒ กรรมการ
๕. นางไพเราะ มีบางยาง ศึกษานิเทศก์ สพท.กรุงเทพมหานคร เขต ๓ กรรมการ
๖. นางฉัตรแก้ว เภาวิเศษ ศึกษานิเทศก์ สพท.กรุงเทพมหานคร เขต ๓ กรรมการ
๗. นางทัศนีย์ สุวรรณพงษ์ ศึกษานิเทศก์ สพท.สมุทรสาคร กรรมการ
๘. นางวนิดา ปาณีนิจ ศึกษานิเทศก์ สพท.ร้อยเอ็ด เขต ๑ กรรมการ
๙. นายประกอบ มณีโรจน์ ศึกษานิเทศก์ สพท.สงขลา เขต ๒ กรรมการ

๓๒

๑๐. น.ส.รัชนีวัลย์ จุลบาท ศึกษานิเทศก์ สพท.ศรีสะเกษ เขต ๓ กรรมการ
๑๑. นายมานิต สิทธิศร ศึกษานิเทศก์ สพท.ศรีสะเกษ เขต ๔ กรรมการ
๑๒. นางบุญรวย ช่วยปลัด ศึกษานิเทศก์ สพท.สุราษฎร์ธานี เขต ๒ กรรมการ
๑๓. นางประภา ภัทรธำรง ศึกษานิเทศก์ สพท.ภูเก็ต กรรมการ
๑๔. นายอาทร จันทร์แดง ศึกษานิเทศก์ สพท.พัทลุง เขต ๒ กรรมการ
๑๕. นางธนาลัย ลิมปรัตนคีรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห์ ๑” กรรมการ
๑๖. นายณรงค์ศิลป์ ธูปพนม รองผู้อำนวยการ สสวท. กรรมการ
๑๗. น.ส.จารุวรรณ แสงทอง ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท. กรรมการ
๑๘. นายอุปการ จีระพันธุ หัวหน้าโครงการเทคโนโลยี สสวท. กรรมการ
๑๙. นางสุคนธ์ สินธพานนท์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๒๐. น.ส.มาลี โตสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๒๑. นางประไพ ปิ่นสุวรรณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๒๒. นางภาวนี ธำรงเลิศฤทธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๒๓. นางเกยูร ปริยพฤทธ์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๒๔. นางปานทิพย์ จตุรานนท์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๒๕. น.ส.รัตนา แสงบัวเผื่อน นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๒๖. นางมัทนา มรรคผล นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๒๗. นายอนุจินต์ ลาภธนาภรณ์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการและเลขานุการ
บรรณาธิการกิจ
๑. นางสาวจิตรา พิณโอภาส ศึกษานิเทศก์ สพท.กรุงเทพมหานคร เขต ๒
๒. น.ส.รัชนีวัลย์ จุลบาท ศึกษานิเทศก์ สพท.ศรีสะเกษ เขต ๓
๓. นางทัศนีย์ สุวรรณพงษ์ ศึกษานิเทศก์ สพท.สมุทรสาคร
๔. นางเกสร ทองแสน ศึกษานิเทศก์ สพท.กาฬสินธุ์ เขต ๒
๕. นางภาวนี ธำรงเลิศฤทธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๖. ว่าที่ ร.ต.อุดมศักดิ์ ธนะกิจรุ่งเรือง นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๗. นางปานทิพย์ จตุรานนท์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๘. นางมัทนา มรรคผล นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๙. นายอนุจินต์ ลาภธนาภรณ์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

แบบทดสอบภาษาไทยเพิ่มเติม

ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ภาษาไทย ม.1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
คำชี้แจง ข้อสอบมีทั้งหมด ๑๐๐ ข้อ (๑๐๐ คะแนน)
ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
๑. ข้อใดไม่ใช่เรื่องที่ผู้แต่งกล่าวพรรณนาไว้ในนิราศเมืองแกลง
ก. ความงดงามของหญิงสาว ข. สภาพภูมิอากาศ
ค. ความยากลำบากในการเดินทาง ง. วัฒนธรรมประเพณีของชาวเมืองแกลง
๒. นิราศเมืองแกลงตั้งชื่อตามหลักเกณฑ์ในข้อใด
ก. ตั้งตามชื่อสถานที่ที่จะไป ข. ตั้งตามชื่อผู้แต่ง
ค. ตั้งตามชื่อตัวละครเอกของเรื่อง ง. ตั้งตามเหตุการณ์ในเรื่อง
๓. คำประพันธ์ข้อใดกล่าวพรรณนาเลียนเสียงธรรมชาติได้ไพเราะ
ก. ถึงวัดแจ้งแสงจันทร์จำรัสเรือง แลชำเลืองเหลียวหลังหลั่งน้ำตา
ข. ป่าแสมแลเห็นอยู่ริ้วริ้ว ให้หวิวหวิววาบวับฤทัยไหว
ค. เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย กระหึมโหยห้อยไม้น่าใจหาย
ง. โอ้ชะนีเวทนาเที่ยวหาผัว เหมือนตัวพี่จากน้องให้หมองหมาง
๔. ข้อใดเป็นคุณค่าด้านสังคมที่ได้รับจากการอ่านเรื่องนิราศเมืองแกลงเกี่ยวกับการค้าขาย
ก. พอเจ้าของแตงโมปะโลปะเล สมคะเนกินแตงพอแรงกัน
ข. ถึงสำเพ็งเก๋งตั้งริมฝั่งน้ำ แพประจำจอดเรียงเคียงขนาน
ค. น้ำจะพัดปัดตีไปสีชัง แล้วคุ้มคลั่งเงี่ยนยาทำตาแดง
ง. ชะรอยกรรมทำสัตว์ให้พลัดพราย จึงแยกย้ายปิตุราชญาติกา
๕. พืชในข้อใดขึ้นอยู่ในน้ำกร่อยได้ดี
ก. มะม่วง ข. ขนุน
ค. ชมพู่ ง. ลำพู
๖. ข้อใดไม่ใช่ข้อคิดจากเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
ก. ข้าราชการที่ดีต้องไม่คดโกง
ข. การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขทุกคนต้องไม่เบียดเบียนกัน
ค. การเกิดปัญหาอาชญากรรมเป็นเรื่องธรรมดา
ง. คนไทยไม่ควรมัวเมาเพลิดเพลินสนุกสนานจนเกินไป
๗. ศัพท์ในข้อใดมีความหมายตรงกับที่นอน
ก. บรรทม ข. บรรจถรณ์
ค. เขนย ง. มรณา
๘. กาพย์ชนิดใดที่บังคับจำนวนคำ ๒๘ คำต่อ ๑ บท
ก. กาพย์ยานี ข. กาพย์ฉบัง
ค. กาพย์สุรางคนางค์ ง. กาพย์พระไชยสุริยา
๙. เหตุที่ทำให้พระไชยสุริยาต้องเดือดร้อนจากการครองบ้านเมืองเพราะข้อใด
ก. ความยากจน ข. ถูกรุกรานจากเพื่อนบ้าน
ค. โอรส ธิดา ไม่ปรองดองกัน ง. ข้าราชการอำมาตย์ไม่มีธรรมะในใจ
๑๐. คำประพันธ์ในข้อใดใช้โวหารอุปมา
ก. กลางไพรไก่ขันบรรเลง ฟังเสียงเพียงเพลง ซอเจ้งจำเรียงเวียงวัง
ข. ค้อนทองเสียงร้องป๋องเป๋ง เพลินฟังวังเวง อีเก้งเริงร้องลองเชิง
ค. พสุธาอาศัยไม่มี ราชานารี อยู่ที่พระแกลแลดู
ง. เขาสูงฝูงหงส์ลงเรียง เริงร้องซ้องเสียง สำเนียงน่าฟังวังเวง
๑๑. วรรณคดีเรื่องใดแต่งด้วยกลอนเพลงยาว
ก. นิราศเมืองแกลง ข. สุภาษิตอิศรญาณ
ค. พระอภัยมณี ง. กาพย์พระไชยสุริยา
๑๒. ตัวละครในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องพระอภัยมณี
ก. สินสมุทร ข. โยคี
ค. เงือก ง. วานร
๑๓. “พระบิตุรงค์ทรงศักดิ์ก็รักใคร่
ด้วยเนื้อไขมิได้คิดริษยา
เฝ้าเลี้ยงลูกผูกเปลแล้วเห่ช้า
จนใหญ่กล้าอายุได้แปดปี”
จากคำประพันธ์ข้างต้น ผู้มีอายุ ๑๘ ปี คือใคร
ก. สินสมุทร ข. ศรีสุวรรณ
ค. สุดสาคร ง. สานนท์
๑๔. คำมี่ขีดเส้นใต้ในข้อ ๑๓ มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. แม่ ข. พ่อ
ค. พี่ ง. น้อง
๑๕. คำประพันธ์ต่อไปนี้ให้อารมณ์ความรู้สึกใด
“แล้วว่าแก่สินสมุทรสุดที่รัก แม้นนางยักษ์จะมารับจงกลับหลัง
อันตัวพ่อขอตายวายชีวัง กันแสงสั่งลูกยาด้วยอาลัย”
ก. อารมณ์โกรธ ข. อารมณ์เศร้า
ค. อารมณ์รัก ง. อารมณ์เกลียด
๑๖. ข้อใดคือแนวคิดหลักที่สุนทรภู่แสดงออกในเรื่องพระอภัยมณี
ก. การผจญภัยชีวิตของตัวละครเอกในเรื่อง
ข. การแสดงความสามารถของตัวละครต่างๆ ในเรื่อง
ค. การพรรณนาเกี่ยวกับธรรมชาติในท้องทะเล
ง. การแสดงความรักความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครในเรื่อง



๑๗. คำประพันธ์ต่อไปนี้ ข้อใดเป็นสัมผัสบังคับ
“พระฟังคำน้ำเนตรลงพรากพราก
คิดถึงยากยามวิโยคยิ่งโศกศัลย์
แถลงเล่าลูกยาสารพัน
จนพากันมาบรรทมที่ร่มไทร”
ก. พราก – พราก - , ยาก – ยาม – โยค
ข. พราก – ยาก , พราก – ยาม – โยค
ค. พราก – ยาก , ศัลย์ – พัน – กัน
ง. เล่า – ลูก , พัน – พา – กัน
๑๘. เรื่องพระอภัยมณีแต่งด้วยคำประพันธ์ใด
ก. กลอนหก ข. กลอนแปด
ค. กลอนนิราศ ง. กลอนดอกสร้อย
๑๙. โคลงโลกนิติจารึกไว้ที่วัดใด
ก. วัดพระแก้ว ข. วัดโพธิ์สามต้น
ค. วัดมหาธาตุ ง. วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
๒๐. ข้อใดคือผู้รวบรวมโคลงโลกนิติของเก่ามาแก้ไขใหม่
ก. กรมพระยาเดชาดิศร ข. กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
ค. กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ง. กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
๒๑. “สามสิ่งนี้เว้นไว้ แต่ผู้ทรชน” คำที่ขีดเส้นใต้หมายถึงข้อใด
ก. การให้, การอภัย, ความรัก ข. การให้, ความรัก, ความเห็นใจ
ค. การให้, การอภัย, ความเคารพ ง. การให้, ความรัก, ความเคารพ
๒๒. “นาคีมีพิษเพี้ยง สุริโย
เลื้อยบ่ทำเดโช แช่มช้า”
คำประพันธ์นี้กล่าวตรงกับสำนวนใด
ก. เลือกนักมักได้แร่ ข. น้ำนิ่งไหลลึก
ค. หน้าเนื้อใจเสือ ง. ฝนทั่งให้เป็นเข็ม
๒๓. ข้อใดกล่าวเปรียบเทียบไม่ถูกต้อง
ก. คำพูดของสาธุชนเปรียบเหมือนงาช้าง ข. คนขยันเรียนเหมือนกับฝนทั่งให้เป็นเข็ม
ค. ความรู้เปรียบได้กับสินทรัพย์ ง. จิตใจมนุษย์หยั่งยากเหมือนฟากฟ้า
๒๔. คำประพันธ์ประเภทโคลง วรรคที่มี ๔ คำ คือวรรคใด
ก. วรรคที่ ๒ ข. วรรคที่ ๔
ค. วรรคที่ ๖ ง. วรรคที่ ๘
๒๕. “ใบพ้อพันห่อหุ้ม กฤษณา
หอมระรวยรสพา เพริศด้วย”
คำประพันธ์ข้างต้นกล่าวถึงคุณค่าของพืชชนิดใด
ก. ไม้กฤษณา ข. ใบพ้อ
ค. ต้นหอม ง. ใบพ้อพัน
๒๖. ในสุภาษิตโคลงโลกนิติกล่าวถึงคนที่รักกัน ตรงกับข้อใด
ก. คนรักกันย่อมให้อภัยกัน ข. คนรักกันมีแต่การให้
ค. คนรักกันต้องอยากอยู่ใกล้กัน ง. คนรักกันต้องซื่อสัตย์และเสียสละ
๒๗. สิ่งที่ผูกมัดได้แน่นและนานที่สุดที่กล่าวในสุภาษิตโคลงโลกนิติคือข้อใด
ก. โซ่ตรวน ข. ไมตรี
ค. เชือก ง. ความรัก
๒๘. ข้อใดไม่ใช่ข้อคิดที่ผู้อ่านได้รับเมื่ออ่านสุภาษิตโคลงโลกนิติจบลงแล้ว
ก. ความรู้เรื่องสุภาษิตคำพังเพยนำไปใช้ในชีวิตได้
ข. การอยู่ในสังคมได้ดีต้องรู้จักการปรับตัว
ค. ตัวอย่างจากชีวิตมนุษย์เป็นบทเรียนให้คนรุ่นหลังได้ศึกษา
ง. บรรพบุรุษจะสั่งสอนเรื่องต่าง ๆ อย่างตรงไปตรงมา
๒๙. โคลงสี่สุภาพ ๑ บท มีคำสร้อยกำหนดไว้ที่ใด
ก. บาทที่ ๑ กับบาทที่ ๓ ข. บาทที่ ๑ กับบาทที่ ๔
ค. บาทที่ ๒ กับบาทที่ ๓ ง. บาทที่ ๒ กับบาทที่ ๔
๓๐. คำในข้อใดเป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑
ก. สัปบุรุษ ข. ปราชญ์
ค. อัญขยม ง. สุขุม
๓๑. แนวคิดจากวรรณกรรมเรื่องสังข์ทอง ตอนพระสังข์ได้รจนาข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. ลูกรักใครพ่อแม่ก็รักด้วย
ข. รูปร่างหน้าตามีความสำคัญมากกว่าฐานะ
ค. แม่อภัยให้ลูกเสมอแม้ว่าลูกจะทำให้เสียใจ
ง. คนที่แตกต่างกันมากๆ ไม่สามารถอยู่ร่วมกันได้นาน
๓๒. คำในข้อใดใช้สำหรับตัวละครเอกของเรื่องสังข์ทอง
ก. เมื่อนั้น ข. บัดนั้น
ค. ครานั้น ง. มาจะกล่าวบทไป
๓๓. วรรณคดีของอินเดียเรื่องใดที่มีเนื้อเรื่องตรงกับเรื่องรามเกียรติ์
ก. รามสูตร ข. รามายณะ
ค. มหาภารตะ ง. นารายณ์อวตาร
๓๔. ข้อใดไม่ได้หมายถึงพระราม
ก. พระหริวงศ์ ข. พระทรงกริช
ค. พระทรงจักร ง. พระทรงสุบรรณ
๓๕. ทศพักตร์มันลักพี่นางไป ไว้ในลงการาชฐาน คำที่ขีดเส้นใต้หมายถึงข้อใด
ก. ทศกัณฐ์ ข. พิเภก
ค. ไมยราพ ง. ไวยวิก
๓๖. “เคย” เป็นสัตว์ประเภทเดียวกับสัตว์ในข้อใด
ก. จักจั่น ข. แมงกระชอน
ค. กุ้ง ง. หอย


๓๗. คำประพันธ์ในข้อใดมีสัมผัสอักษรมากที่สุด
ก. แมงเม่าบินเข้าไฟฟอน ร้อยพันม้วยมรณ์
ข. น้ำลายงูเห่าเฝ้าฟอน ไต่ตอมตัวหนอน
ค. แมงดาสองเพศสองพรรณ คือแมงดาอรร-
ง. ไรไรร่ายร้องระดม หริ่งหริ่งระงม
๓๘. ข้อใดคือผู้ที่ “มันทำให้มนุษย์ถือดี ไม่มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่”
ก. ความเท็จ ข. ความหยิ่ง
ค. ความตระหนี่ ง. ความเกียจคร้าน
๓๙. คำว่า “บุพการี” หมายถึงบุคคลในข้อใด
ก. ปู่ - ย่า ข. ตา – ยาย
ค. พ่อ – แม่ ง. ลุง – ป้า
๔๐. กลอนสุภาพแตกต่างจากกลอนสักวาที่ใด
ก. คำนำ ข. สัมผัส
ค. เสียงวรรณยุกต์ ง. จำนวนคำในวรรค
๔๑. ข้อใดคืออุปกรณ์สำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ก. โทรสาร ข. โทรศัพท์
ค. ซีดีรอม ง. คอมพิวเตอร์
๔๒. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของแผ่นป้ายอิเล็กทรอนิกส์
ก. เป็นพื้นที่ให้สมาชิกในเครือข่ายพูดคุยโต้ตอบกัน
ข. เป็นพื้นที่ให้สมาชิกได้แจ้งข่าวสารแก่กัน
ค. เป็นพื้นที่ให้สมาชิกในเครือข่ายตั้งกระทู้
ง. เป็นพื้นที่ให้สมาชิกในเครือข่ายส่งจดหมายถึงกัน



๔๓. สิรีจะปฏิบัติอย่างไรเมื่อต้องออกไปพูดรายงานหน้าชั้นเรียน
ก. แนะนำตัวแล้วเริ่มรายงาน
ข. แนะนำตัว บอกหัวข้อรายงาน เริ่มรายงาน
ค. แนะนำตัว เริ่มรายงาน สรุปหัวข้อรายงาน
ง. บอกหัวข้อรายงาน แนะนำตัว เริ่มรายงาน
๔๔. ข้อใดไม่ใช่มารยาทที่ดีในการพูด
ก. พูดด้วยวาจาสุภาพ หน้าตายิ้มแย้ม ข. รักษาอารมณ์ในการพูดให้เป็นปกติ
ค. พูดดังๆ เพื่อให้ผู้ฟังตั้งใจฟัง ง. ไม่พูดยกตนข่มท่าน
๔๕. ข้อใดเป็นคำเชิญชวน
ก. โปรดอย่าเดินลัดสนาม ข. ห้ามทิ้งขยะลงในแม่น้ำลำคลอง
ค. กรุณาลดเสียง ง. ช่วยกันประหยัดวันนี้เพื่อชีวิตที่ดีในวันหน้า
๔๖. เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารถึงกันในสมัยก่อนคือข้อใด
ก. จดหมาย ข. โทรเลข
ค. โทรสาร ง. โทรศัพท์
๔๗. ข้อใดกล่าวถึงการย่อความได้ถูกต้อง
ก. อ่านก่อนย่อความหลายๆ ครั้ง
ข. ให้คงคำราชาศัพท์ไว้ดังเดิม
ค. ให้คงบทร้อยกรองไว้ตามเดิม
ง. ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงสรรพนามบุรุษที่ ๑ เป็นบุรุษที่ ๓
๔๘. จงเรียงลำดับหัวข้อเรียงความ เรื่อง วันลอยกระทง ให้ถูกต้อง
ก. คำจำกัดความของประเพณีลอยกระทง
ข. ความสนุกสนานในวันลอยกระทง
ค. จุดมุ่งหมายในการลอยกระทง
ง. ประเภทของกระทงที่นิยมทำ
ก. ก ข ค ง ข. ก ข ง ค
ค. ก ค ง ข ง. ก ง ข ค
๔๙. การใช้คำที่ดีในการเขียนเรียงความคือข้อใด
ก. ใช้คำศัพท์สูงๆ ข. ใช้คำอย่างหลากหลาย
ค. ใช้คำระดับภาษาปาก ง. ใช้คำสั้นๆ
๕๐. ข้อใดคือความหมายของคำไวพจน์
ก. คำที่มีรูปเขียนเหมือนกัน
ข. คำที่มีเสียงอ่านเหมือนกัน
ค. คำที่มีรูปร่างหน้าตาเหมือนกัน
ง. คำที่มีความหมายคล้ายกัน
๕๑. ข้อใดใช้คำถูกต้อง
ก. เมฆถูกกับอากาศทางภาคเหนือมากกว่าภาคอื่น
ข. คนใจคับแคบย่อมไม่อยากเห็นคนอื่นดีกว่าตน
ค. เขาเขียนคำตอบผิดพลาดไปข้อเดียว
ง. เพื่อนฉันติดใจธรรมชาติที่ต่างประเทศมาก
๕๒. ข้อใดผู้พูดพูดได้เหมาะสมที่สุด
ก. เป็นไงสอบตกอีกแล้วเหรอ
ข. ถ้าเธออ่านหนังสือมากกว่านี้เธอก็ได้คะแนนดีเหมือนกัน
ค. เธอนี่สอนเท่าไหร่ไม่รู้จักจำ
ง. ผู้หญิงคนนี้แต่งตัวเหมือนกาคาบพริก
๕๓. ข้อใดไม่ควรนำมาเป็นหัวข้อสนทนา
ก. เรื่องความสวยความงาม ข. เรื่องดินฟ้าอากาศ
ค. เรื่องศาสนา ง. เรื่องอาหารการกิน
๕๔. ข้อใดคือประโยชน์ของการเขียนเลขไทย
ก. ทำให้มีสมาธิเพิ่มขึ้น
ข. ช่วยเปลี่ยนบรรยากาศในการเขียนตัวเลข
ค. ฝึกให้มีลายมือที่สวยงาม
ง. ช่วยอนุรักษ์ศิลปะในการเขียนตัวเลขของไทย

ให้ใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ ๕๕ – ๕๗
ปัจจุบันได้มีผู้คิดค้นหาวิธีการรักษาโรคต่างๆ โดยใช้น้ำที่ทำจากผักผลไม้ ธัญพืชต่างๆ น้ำสมุนไพรบางชนิดจะดื่มลำบากในช่วงแรกของการดื่ม อาจจะทำให้รู้สึกอึดอัด เนื่องจากรสชาติไม่ค่อยตรงรสนิยมของผู้ดื่ม แต่จะเป็นเพียงระยะสั้นเท่านั้น วิธีดื่มที่ดี ควรดื่มแบบจิบช้าๆ และควรดื่มทันทีที่ปรุงเสร็จ
๕๕. ข้อใดเป็นข้อสรุปสุดท้ายของข้อความนี้
ก. วิธีดื่มน้ำสมุนไพรที่ดีคือดื่มแบบจิบช้าๆ
ข. น้ำที่ทำจากผัก ผลไม้ ธัญพืชต่างๆเป็นน้ำสมุนไพร
ค. ปัจจุบันมีผู้คิดค้นหาวิธีการรักษาโรคต่างๆ
ง. น้ำสมุนไพรบางชนิดจะดื่มลำบากในช่วงแรก
๕๖. เหตุใดการดื่มน้ำสมุนไพรในช่วงแรกจะทำให้รู้สึกอึดอัด
ก. ผู้ดื่มเป็นโรค ข. ผู้ดื่มไม่ชอบ
ค. ผู้ดื่มไม่เคยดื่มมาก่อน ง. ผู้ดื่มไม่กล้าดื่ม
๕๗. ข้อความใดเป็นข้อเท็จจริง
ก. ช่วงแรกของการดื่มอาจจะทำให้รู้สึกอึดอัด
ข. น้ำสมุนไพรบางชนิดจะดื่มลำบากในช่วงแรก
ค. การดื่มที่ดีควรดื่มแบบจิบช้าๆ จะดีกว่าดื่มเร็วๆ
ง. น้ำที่ทำจากผัก ผลไม้ ธัญพืชต่างๆ คือน้ำสมุนไพร
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วแสดงความคิดเห็นข้อ ๕๘ – ๖๐
แม้ว่าขณะนี้จะมีรัฐบาลใหม่ นำโดย พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรีเข้ามาบริหารประเทศเรียบร้อยแล้ว แต่กฎอัยการศึกก็ยังไม่ยกเลิก ล่าสุด พล.อ. สนธิ บุญย-รัตกลิน ประธานคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติที่แปรสภาพจากหัวหน้า ค.ป.ค. ได้บอกแบบเข้มๆ ว่า “หากประกาศยกเลิกกฎอัยการศึกไปแล้ว เมื่อเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้นมาจะแก้ยาก ดังนั้น ... ประกาศยกเลิกกฎอัยการศึกเมื่อทุกอย่างต้องปลอดภัยเรียบร้อยเพื่อให้ประชาชนไม่เกิดปัญหากัน
(มติชน ๑๒ ต.ค. ๒๕๔๙)
๕๘. ข้อใดคือใจความสำคัญของบทความนี้
ก. การสรรหานายกรัฐมนตรี
ข. การประกาศกฎอัยการศึก
ค. การบริหารประเทศ
ง. ความปลอดภัยของบ้านเมือง
๕๙. ข้อใดคือคำเต็มของอักษรย่อ ค.ป.ค.
ก. คณะปฏิรูปการปกครอง
ข. คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ
ค. คณะปฏิรูปความมั่งคงแห่งชาติ
ง. คณะปฏิรูปการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๖๐. ข้อใดคือสภาพบ้านเมืองในข้อความนี้
ก. บ้านเมืองกลับเข้าสู่เหตุการณ์ปกติแล้ว
ข. บ้านเมืองยังมีเหตุการณ์ร้ายแรงอยู่
ค. บ้านเมืองยังไม่เรียบร้อยปลอดภัยดี
ง. บ้านเมืองยังต้องการผู้นำใหม่
๖๑. สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม
ข้อความนี้เปรียบเทียบความหวานของสิ่งใดมากที่สุด
ก. คำพูด ข. ความหอม
ค. ความดี ง. ความหวาน
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ ๖๒ – ๖๔
“หากจะเสด็จพระราชดำเนินทางน้ำ คือริ้วกระบวนเรือสวยงาม เช่น เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช เคลื่อนลอยไปตามลำน้ำเจ้าพระยา พร้อมๆ กับที่ฝีพายร้องเห่เรืออย่างไพเราะ เรียกว่า กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค”
(สารานุกรมไทยฉบับเยาวชนฯ เล่ม ๒๑)


๖๒. ข้อใดไม่เป็นคำราชาศัพท์
ก. เสด็จพระราชดำเนิน ข. พระที่นั่งอนันตนาคราช
ค. ริ้วกระบวน ง. กระบวนพยุหยาตราทางชลมารค
๖๓. จุดมุ่งหมายในการอ่านข้อความนี้ คือข้อใด
ก. เพื่อหาความรู้ ข. เพื่อหาความบันเทิง
ค. เพื่อหาข่าวสาร ง. เพื่อหาความสุขกาย สุขใจ
๖๔. ฝีพาย คือใคร
ก. คนคุมเรือ ข. คนพายเรือ
ค. คนโบกธงเรือ ง. คนพายเรือและร้องเห่เรือ
๖๕. “น้องกินขนมไหม
ไม่กิน (น้องสั่นศีรษะ)”
ข้อความนี้น้องใช้ภาษาในข้อใดสื่อสาร
ก. ภาษาถิ่น ข. ภาษาสแลง
ค. อวัจนภาษา ง. วัจนภาษา
๖๖. จากข้อความในข้อ ๖๕. ผู้ถามคือใคร
ก. พ่อ ข. แม่
ค. เพื่อน ง. พี่
๖๗. ข้อใดคือภาษาถิ่นภาคเหนือที่หมายถึง “อร่อย”
ก. รำ ข. แซ่บ
ค. หร่อย ง. อร่อย
๖๘. ข้อใดคือเพลงประกอบการเล่นของเด็ก
ก. กาเหว่า ข. วัดโบสถ์
ค. ไอ้เข้ไอ้โขง ง. นอนสาเด้อ


๖๙. “เอ้อระเหยลอยมา ขอถามว่าหนูทำได้ไหม”
ข้อความนี้เป็นเพลงพื้นบ้านในข้อใด
ก. เพลงฉ่อย ข. เพลงพวงมาลัย
ค. เพลงเรือ ง. เพลงกล่อม
๗๐. “มาเถิดเอย เอ๋ยมา พ่อมา มาสิมา พ่อมา
ฝนกระจายที่ปลายนา แล้วน้องจะมาอย่างไรเอย”
ข้อใดคืออาชีพที่กล่าวถึงในบทเพลงนี้
ก. ค้าขาย ข. รับราชการ
ค. นักร้อง ง. เกษตรกร
๗๑. ข้อใดอ่านไม่ถูกต้อง
ก. ชนมายุ อ่านว่า ชน – มา – ยุ
ข. กาฬปักษ์ อ่านว่า กา – ละ – ปัก
ค. พืชมงคล อ่านว่า พืด – ชะ – มง – คน
ง. มูลนิธิ อ่านว่า มูน – ละ – นิ – ทิ
๗๒. ข้อใดอ่านถูกต้อง
ก. ญาติวงศ์ อ่านว่า ยาด – วง
ข. นิรโทษกรรม อ่านว่า นิ – ระ – โทด – สะ – กำ
ค. พรรณนา อ่านว่า พัน – นา
ง. ธรรมาสน์ อ่านว่า ทัน – มาด
๗๓. ข้อใดคือผลเสียที่สำคัญที่สุดของการออกเสียงอ่านผิด
ก. ทำให้เป็นที่ขบขัน ข. ทำให้เขียนผิด
ค. ทำให้ผู้อื่นดูหมิ่น ง. ทำให้ถูกล้อเลียน
๗๔. ข้อใดคือคำของเสียงว่า “โตนั้น”
ก. ชิ้นนั้น ข. อันนั้น
ค. ตัวนั้น ง. แท่งนั้น

๗๕. ข้อใดอ่านออกเสียงแบบตัดคำหรือย่อคำ
ก. ผม ข. อย่าง – นี้
ค. โก - หก ง. เดี๊ยน
๗๖. ข้อใดไม่ใช่คำมูลพยางค์เดียว
ก. ร้อน ข. นอน
ค. บาตร ง. นะ
๗๗. ข้อใดเป็นคำประสมทั้ง ๒ คำ
ก. น้ำปลา, ต้มยำ ข. หลายใจ, กินนะ
ค. กินใจ, แม่เฮย ง. รถเมล์, สมเพช
๗๘. ข้อใดคือเครื่องหมายบุพสัญญา
ก. ( ) ข. ๆ
ค. “ ง. ฯลฯ
๗๙. ข้อใดไม่จัดเป็นคำสมาส
ก. จิตรกร ข. จำแนก
ค. วุฒิบัตร ง. กุลธิดา
๘๐. ข้อใดเป็นอักษรควบแท้ทุกคำ
ก. สล้าง เสริม ปราการ ข. ความ เกรียง ผลาญ
ค. จริง ตรู่ ตรัส ง. ผลิต จันทรา ปราชัย
๘๑. ข้อใดเป็นคำตายทุกคำ
ก. มะตะบะ มะระ ข. แตงกวา ส้มโอ
ค. มะม่วง กล้วยหอม ง. ลิ้นจี่ มังคุด
๘๒. ข้อใดผันได้ครบห้าเสียง
ก. ขึ้น ข. ค้า
ค. ขา ง. ป้า
๘๓. ข้อใดมี ๓ พยางค์
ก. ตรึกตรอง ข. กาลเวลา
ค. กรมท่า ง. ยุโรป
๘๔. เสียงพยัญชนะใดที่มีรูปพยัญชนะมากที่สุด
ก. เสียง ท ข. เสียง ช
ค. เสียง ข ง. เสียง ซ
๘๕. ผู้ประดิษฐ์อักษรไทยคือใคร
ก. พระยาลิไท ข. พ่อขุนรามคำแหง
ค. สมเด็จพระนารายณ์ ง. สมเด็จพระนเรศวร
๘๖. ข้อใดคือการเขียนอักษรไทยที่ถูกต้อง
ก. เขียนให้มีช่องไฟห่างกันมากๆ ข. เขียนตัวโตๆ ให้อ่านง่าย
ค. เขียนตามความถนัด ง. เขียนหัวอักษรก่อนเสมอ
๘๗. ข้อใดเป็นคำย่อของคำว่าการศึกษามหาบัณฑิต
ก. ศม.บ. ข. ศ.ม.บ.
ค. กศ.ม. ง. ก.ศ.ม.
๘๘. ข้อใดเขียนอักษรย่อผิด
ก. ผอ. ย่อมาจาก ผู้อำนวยการ ข. ป.ล. ย่อมาจาก ปัจฉิมลิขิต
ค. ผจก. ย่อมาจาก ผู้จัดการ ง. กท.ม. ย่อมาจาก กรุงเทพมหานคร
๘๙. ข้อใดไม่ใช่มารยาทการอ่านที่ดีในห้องสมุด
ก. ให้เกียรติอ้างอิงผู้เขียนเมื่อนำข้อความนั้นไปอ้างอิง
ข. อ่านออกเสียงถูกต้อง ชัดเจน
ค. จับหนังสืออ่านอย่างระมัดระวัง
ง. เลือกอ่านหนังสือที่มีประโยชน์ต่อตนเอง


๙๐. ข้อใดคืออักษรที่อยู่ระหว่าง ถ และ ธ
ก. ท ข. ด
ค. ม ง. ล
๙๑. ข้อใดเรียงคำตามหลักพจนานุกรมถูกต้อง
ก. กล่อง กลอง ข. ปราศ ปรบ
ค. จรด จรวด ง. ป๋า ป่า
๙๒. ข้อใดคือประโยชน์ของสารานุกรม
ก. ใช้ค้นหาความหมายของคำ ข. ใช้ค้นหาประวัติและที่มาของคำ
ค. ใช้ค้นหาคำตอบของปัญหาทั่วๆ ไป ง. ใช้ค้นหาการเขียนสะกดคำที่ถูกต้อง
๙๓. ข้อใดใช้ลักษณนามถูกต้อง
ก. แห ๑ ปาก ข. โครงการ ๕ อย่าง
ค. ช้าง ๒ ตัว ง. โรงเรียน ๒ โรง
๙๔. “โคคา โคล่า” เป็นคำนามชนิดใด
ก. สามานยนาม ข. วิสามานยนาม
ค. สมุหนาม ง. ลักษณนาม
๙๕. ประโยคใดมีคำสันธานที่คล้อยตามกัน
ก. เขาชอบความลำบากหรือความสบาย ข. เธอไม่สวยแต่ฉลาด
ค. เขาเกียจคร้านจึงทำให้เขายากจน ง. พี่และน้องอยู่โรงเรียนเดียวกัน
๙๖. ข้อใดใช้บุพบทผิด
ก. พวกเรามอบดอกไม้แก่คุณครู ข. คนเราต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
ค. เมื่อคืนฝนตกหนัก ง. เราต้องทำงานหนักเพื่อกินดีอยู่ดี
๙๗. ข้อใดมีคำอุทาน
ก. ฉันทำตัวให้ลำบากเอง ข. อย่าไว้ใจทางอย่าวางใจคน
ค. โอ้ว่าอนิจจาความรัก ง. นกน้อยทำรังแต่พอตัว
๙๘. กริยาข้อใดไม่ต้องมีกรรมมารับ
ก. คนขับรถประจำทาง ข. นายพรานล่าสัตว์
ค. แม่ค้าขายข้าวแกง ง. วันนี้อากาศดี
๙๙. ข้อใดไม่ใช่คำวิเศษณ์ทั้ง ๒ คำ
ก. สูง ใหญ่ ข. ฉุน แบน
ค. แด่ สำหรับ ง. ใกล้ เหนือ
๑๐๐. “เพราะ” ในข้อใดไม่ใช่คำวิเศษณ์
ก. นักร้องคนนี้ร้องเพลงเพราะมาก ข. เขาร้องเพลงได้ดีเพราะมีผู้ฝึกสอนดี
ค. เพลงในเทปนี้เพราะมาก ง. เพลงเพราะเนื่องจากนักร้องมีน้ำเสียงดี













ชุดที่ ๑
เฉลยข้อสอบมาตรฐานชั้นปี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
สาระการเรียนรู้พื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
คำชี้แจง ข้อสอบมีทั้งหมด ๑๐๐ ข้อ (๑๐๐ คะแนน)
ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
๑. ก. ๒. ก. ๓. ค. ๔. ข. ๕. ง.
๖. ค. ๗. ข. ๘. ค. ๙. ง. ๑๐. ก.
๑๑. ข. ๑๒. ง. ๑๓. ก. ๑๔. ข. ๑๕. ข.
๑๖. ก. ๑๗. ค. ๑๘. ข. ๑๙. ง. ๒๐. ก.๒๑. ง. ๒๒. ข. ๒๓. ง. ๒๔. ง. ๒๕. ก.๒๖. ค. ๒๗. ข. ๒๘. ง. ๒๙. ก. ๓๐. ค.
๓๑. ค. ๓๒. ก. ๓๓. ข. ๓๔. ข. ๓๕. ก.
๓๖. ค. ๓๗. ง. ๓๘. ข. ๓๙. ค. ๔๐. ก.
๔๑. ง. ๔๒. ก. ๔๓. ข. ๔๔. ค. ๔๕. ง.
๔๖. ก. ๔๗. ข. ๔๘. ค. ๔๙. ข. ๕๐. ง.
๕๑. ก. ๕๒. ข. ๕๓. ค. ๕๔. ง. ๕๕. ก.
๕๖. ข. ๕๗. ง. ๕๘. ข. ๕๙. ง. ๖๐. ค.
๖๑. ก. ๖๒. ค. ๖๓. ก. ๖๔. ง. ๖๕. ค.
๖๖. ง. ๖๗. ก. ๖๘. ค. ๖๙. ข. ๗๐. ง.
๗๑. ก. ๗๒. ข. ๗๓. ข. ๗๔. ค. ๗๕. ง.
๗๖. ง. ๗๗. ก. ๗๘. ค. ๗๙. ข. ๘๐. ก.
๘๑. ก. ๘๒. ง. ๘๓. ค. ๘๔. ก. ๘๕. ข.
๘๖. ง. ๘๗. ค. ๘๘. ง. ๘๙. ข. ๙๐. ก.
๙๑. ค. ๙๒. ค. ๙๓. ก. ๙๔. ข. ๙๕. ง.
๙๖. ก. ๙๗. ค. ๙๘. ง. ๙๙. ค. ๑๐๐. ข.

แบบทดสอบภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษา ม1-3

ฝึกทำข้อสอบ วิชาภาษาไทย

มีทั้งหมด 70 ข้อ

การตีความร้อยกรอง

1.คนเห็นคนเป็นคนนั่นแหละคน คนเห็นคนใช่คนใช่คนไม่
เกิดเป็นคนต้องเป็นคนทุกคนไป จนหรือมีผู้ดีไพร่ไม่พ้นคน”
บทประพันธ์ข้างต้นไม่ปรากฏลักษณะการแต่งแบบใด

การเล่นคำซ้ำ
การเล่นคำพ้อง
การใช้สัมผัสสระอักษร
การใช้ปฏิพากย์
คลิกดูเฉลย

จงใช้คำประพันธ์ต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 2-4

“มาทำลายรั้วระวังให้พังราบ มาร่ายเสกมนต์สาปให้หมดเศร้า
มาให้ห่วงคิดถึงทุกค่ำเช้า มาปล้นเอาหัวใจไปหมดแล้ว”

2.น้ำเสียงของผู้แต่งเป็นอย่างไร

อาลัย
จริงจัง
เพ้อฝัน
มีความสุข
คลิกดูเฉลย

3.ลักษณะการแต่งที่เด่นที่สุดในบทประพันธ์คือข้อใด

สัมผัสสระ
สัมผัสอักษร
การใช้ภาพพจน์
การใช้กลบท
คลิกดูเฉลย

4.บุคคลใดน่าจะเป็นประธานของบทประพันธ์นี้มากที่สุด

ทหารที่ออกไปรบ
ขโมย
นางอันเป็นที่รัก
พ่อมด
คลิกดูเฉลย

จงใช้คำประพันธ์ต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 5-7

ขอบคุณ...
ขอบคุณสำหรับโรงบุหรี่
ขอบคุณอีกทีกับโรงหวย
ขอบคุณสนามม้าชาติหน้ารวย
ขอบคุณโรงเหล้าด้วยช่วยชาติไทย

5.ข้อใดเแสดงความรู้สึกของผู้ประพันธ์เด่นชัดที่สุด

เกลียดชัง
ประชด
ชื่นชม
ยกย่อง
คลิกดูเฉลย

6.ผู้แต่งมีจุดมุ่งหมายตามข้อใด

เตือนให้คิด
แนะให้ทำ
ติเตียน
สั่งสอน
คลิกดูเฉลย

7.คำประพันธ์ในข้อใดใช้น้ำเสียงเหมือนกับคำประพันธ์ข้างต้น


ไทยคงเอกราชด้วย ฝีมือ ไทยเอย
ขอบคุณไมตรีที่มีให้ ความห่วงใยอาทรแต่ก่อนเก่า
แม้วันนี้ไม่มีทางระหว่างเรา ก็ไม่เศร้าเหงาหรอกใจบอกมา
หนึ่งจะต้องอกหักกับรักแรก สองจะต้องไม่แปลกกับรักใหม่
สามจะต้องผิดหวังทุกครั้งไป สี่จะต้องจำไว้รักคือทุกข์
จะแน่วแน่แก้ไขในสิ่งผิด จะรักชาติจนชีวิตเป็นผุยผง
จะยอมตายหมายให้เกียรติดำรง จะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา
คลิกดูเฉลย

จงใช้คำประพันธ์ต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 8-10

“มิ่งมิตร... เธอมีสิทธิ์ที่จะล่องแม่น้ำรื่น
ที่จะบุกดงดำกลางค่ำคืน ที่จะชื่นใจหลายกับสายลม
ที่จะร่ำเพลงเกี่ยวโลมเรียวข้าว ที่จะยิ้มกับดาวพราวผสม
ที่จะเหม่อมองหญ้าน้ำตาพรม ที่จะขมขื่นลึกโลกหมึกมน”

8.แนวคิดใดไม่ปรากฏในบทประพันธ์นี้

สิทธิของมนุษย์
ธรรมชาติของชีวิตที่มีทุกข์มีสุขสลับกัน
การต่อสู้กับอุปสรรค
ความยุติธรรมและความถูกต้อง
คลิกดูเฉลย

9.ในบทร้อยกรองนี้ กวีวางตนไว้ในฐานะอะไร

อาจารย์
เพื่อน
พระ
บุคคลอันเป็นที่รัก
คลิกดูเฉลย

10.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของคำประพันธ์ข้างต้น

ความหมายเชิงสัญลักษณ์ของถ้อยคำ
ความง่ายและความงามของบทกลอน
การใช้อุปลักษณ์และบุคคลวัต
แสดงแนวคิดทางพุทธศาสนา
คลิกดูเฉลย

จงใช้คำประพันธ์ต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 11-14

โหยหวนหวูดหวูดรถไฟ จุดหมายอยู่ไหนในโลกกว้าง
ผ่านหุบเหวทะเลทรายไปตามราง เลื้อยลอดอุโมงค์กว้างอันมืดนาน
เด็กน้อยยองยอง แม่ใช้ไปซื้อของซื้อข้าวสาร
เอาไม้เขี่ยรถไฟบนใบลาน รถไฟคลานเป็น อ.อ่าง ละลานลือ
พลางควานกระเป๋าพบรอยขาด ตรงที่คาดว่าจะมีเหรียญวางทื่อ
ฉันทำความอิ่มหายไปหลายมื้อ เด็กน้อยตีมือกระทืบรถไฟจนแหลกเหลว

11.“รถไฟ” ในที่นี้เป็นการใช้ภาพพจน์ประเภทใด

อุปลักษณ์
สัญลักษณ์
บุคคลวัต
อติพจน์
คลิกดูเฉลย

12.“เด็กน้อย” เป็นคนอย่างไร

ช่างจินตนาการ
โหดเหี้ยมอำมหิต
ร่ำรวย
ไม่ระมัดระวัง
คลิกดูเฉลย

13.แนวคิดสำคัญของบทประพันธ์คือ

ความฝันกับจินตนาการ
ความยากจนกับความฝัน
ความยากจนกับจินตนาการ
ความยากจนกับความไม่ระมัดระวัง
คลิกดูเฉลย

14.บทประพันธ์ข้างต้นไม่ปรากฏโวหารภาพพจน์แบบใด

สัทพจน์
อุปลักษณ์
สัญลักษณ์
บุคคลวัต
คลิกดูเฉลย

จงใช้คำประพันธ์ต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 15-16

เขียนคนด้วยคนใหม่ เขียนหัวใจด้วยไมตรี
เขียนปากด้วยพจี สุจริตจำนรรจา
เขียนสมองและสองมือ ด้วยซื่อสัตย์และศรัทธา
มุ่งมั่นและปัญญา มาเถิดมามาช่วยกัน

15.บทประพันธ์ข้างต้นเป็นสารประเภทใด

ชวนเชื่อ
โน้มน้าว
ให้เหตุผล
ให้ความรู้
คลิกดูเฉลย

16.แนวคิดใดไม่ปรากฏในบทประพันธ์

โลกสวยด้วยมือเรา
การพัฒนาตนเอง
สามัคคีคือพลัง
ปัญญาประดุจดังอาวุธ
คลิกดูเฉลย

จงใช้คำประพันธ์ต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 17-18

หยุดประเดี๋ยวได้ไหมพายุร้าย หยุดส่งสายสุนีบาตมาข่มขู่
กัมปนาทกราดเกรี้ยวกันเกรียวกรู เพื่อสักครู่เจ้าจะหลั่งซึ่งฝนริน
เติมความรักสักหน่อยนะหัวใจ เติมความหวังไกลอยู่ให้สิ้น
ให้หยัดอยู่คู่ท้าเถื่อนธรนินทร์ เพื่อแผ่นดินจะงดงามด้วยความรัก

17.คำประพันธ์ข้างต้นไม่ปรากฏลักษณะการแต่งในข้อใด

เล่นสัมผัสสระและสัมผัสอักษร
เล่นคำพ้องความหมาย
ใช้สัญลักษณ์
ซ้ำคำย้ำความหมาย
คลิกดูเฉลย

18.ผู้แต่งมีจุดมุ่งหมายในข้อใด

ให้มีความอดทน
ให้มองโลกในแง่ดี
ให้มีอุดมการณ์
ให้กำลังใจ
คลิกดูเฉลย

จงใช้คำประพันธ์ต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 19-20

เป็นสร้อยโสภิศพ้น อุปรมา
โสรมสรวงศิรธิรางค์ เวี่ยไว้
จงคงคู่กัลปา ยืนโยค
หายแผ่นดินฟ้าไหม้ อย่าหาย ฯ

19.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของคำประพันธ์ข้างต้น

การใช้อติพจน์
การใช้อุปลักษณ์
การใช้คำอลังการ
การใช้อุปมา
คลิกดูเฉลย

20.บทประพันธ์นี้ต้องการสื่ออะไร

แสดงความสำคัญของบทกวี
แสดงความยิ่งใหญ่ของบทกวี
แสดงความสามารถของกวี
แสดงความรู้สึกของกวี
คลิกดูเฉลย


ธรรมชาติของภาษา
21. ข้อใดเป็นลักษณะร่วมของการใช้เสียงพูดและการใช้ตัวเขียนในการสื่อสาร


1. อวัยวะที่ใช้ในการสื่อสาร
2. อวัยวะที่ใช้ในการรับสาร
3. ตัวสาร
4. ความคงทนของสาร

คลิกดูเฉลย
22. เหตุใดจึงไม่จัดภาษาเขียนไว้ในภาษาในความหมายอย่างแคบ


1. ภาษาเขียนมีความแน่นอนน้อยกว่าภาษาพูด
2. บางภาษายังไม่มีภาษาเขียน
3. ภาษาเขียนไม่สามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกได้
4. ภาษาพูดมีมาก่อนภาษาเขียน

คลิกดูเฉลย
23. กลุ่มคำในข้อใดแสดงให้เห็นว่าเสียงและความหมายในแต่ละภาษาไม่สัมพันธ์กัน


1. ผู้หญิง นารี สตรี กัลยา
2. เคียด แค้น ขุ่น ขึ้ง
3. ตุ๊กแก ฉู่ฉี่ โครม ทุ่ม
4. เก เข เย้ เป๋

คลิกดูเฉลย
24. หน่วยที่เล็กที่สุดของภาษาคือข้อใด


1. เสียงสระ
2. เสียงพยัญชนะ
3. พยางค์
4. ถูกทั้ง 1. และ 2.

คลิกดูเฉลย
25. ข้อใดไม่ถูกต้อง


1. ถึงแม้ว่าจะมีเสียงจำกัด เราไม่สามารถสร้างประโยคที่ยาวที่สุดได้
2. ในแต่ละภาษา หน่วยที่ใหญ่กว่าสามารถจำแนกเป็นหน่วยที่เล็กกว่าได้เสมอ
3. ภาษาเป็นพฤติกรรมการสื่อสารแบบที่ต้องเรียนรู้ซึ่งผู้ใช้กำหนดขึ้นเองทั้งระบบ
4. เนื่องจากภาษาใช้เสียงสื่อสารทำให้ผู้ใช้ภาษาต่าง ๆ สามารถสื่อสารกันเข้าใจได้ทั้งหมด

คลิกดูเฉลย
26. การที่คนบางกลุ่มออกเสียงคำว่า “เต้าเจี้ยว” เป็นคำว่า “เจ้าเจี้ยว” แสดงว่าภาษามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร


1. เกิดการกร่อนเสียง
2. เกิดการผลักเสียง
3. เกิดการกลมกลืนเสียง
4. เกิดการสลับที่ของเสียง

คลิกดูเฉลย
27. คำในข้อใดมีการเปลี่ยนแปลงต่างจากคำอื่น


1. มะพร้าว
2. กระดุม
3. วะวับ
4. ตะเข้

คลิกดูเฉลย
28. ข้อใดไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา


1. การแปรของภาษาตามระดับภาษาและสถานการณ์
2. การพูดในชีวิตประจำวัน
3. การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
4. อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ

คลิกดูเฉลย
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 29-32

ร้าง ศาสตร์ ฉก หยุด เพชร วุ่น เพศ
สั่ง ชาติ พากย์ ภาพ อยาก เมฆ ค่ำ
ผัด ซัด เวร ซึ้ง พรรค ด้วง โรค
หนอน เพล ยาก หญิง เลข ลิ้น ฉัตร

29. คำที่มีเสียงพยัญชนะต้นเหมือนกันตั้งแต่ 3 คำขึ้นไปมีทั้งหมดกี่ชุดคำ


1. 5 ชุด
2. 4 ชุด
3. 3 ชุด
4. 2 ชุด

คลิกดูเฉลย
30. คำที่มีเสียงสระ “เอ” มีทั้งหมดกี่คำ


1. 7 คำ
2. 6 คำ
3. 5 คำ
4. 4 คำ

คลิกดูเฉลย
31. คำที่สะกดในมาตราแม่กก มีมากกว่าคำที่สะกดในมาตราแม่กดกี่คำ


1. มีจำนวนเท่ากัน
2. 1 คำ
3. 2 คำ
4. 3 คำ

คลิกดูเฉลย
32. จากรายการคำข้างต้น มีคำที่มีเสียงวรรณยุกต์ใดน้อยที่สุด


1. เอก
2. โท
3. ตรี
4. จัตวา

คลิกดูเฉลย
คำสั่ง จงเติมคำหรือข้อความสั้น ๆ เพื่อตอบคำถาม ให้วิเคราะห์องค์ประกอบของการสื่อสารต่อไปนี้

"นิดโบกมือลาแดงก่อนไปขึ้นเครื่องบิน"

33. ผู้ส่งสาร : ………………………………


ตอบ นิด
34. ผู้รับสาร : ………………………………


ตอบ แดง
35. สื่อ : ………………………………


ตอบ มือ
36. สาร : ………………………………


ตอบ ลา
"ป้ายห้ามส่งเสียงดังในห้องสมุด"

37. ผู้ส่งสาร : ………………………………


ตอบ ผู้เขียนป้าย
38. ผู้รับสาร : ………………………………


ตอบ ผู้อ่านป้าย
39. สื่อ : ………………………………


ตอบ ป้าย
40. สาร : ………………………………


ตอบ ห้ามส่งเสียงดัง
เสียงในภาษา

41. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ภาษาต่างประเทศ


1. เดิน
2.ทบ
3. ปราบ
4. ระฆัง

คลิกดูเฉลย
42. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของภาษาไทย


1. วางคำขยายหลังคำหลัก
2. ไม่เปลี่ยนรูปคำเพื่อบอกเพศ พจน์ กาล
3. มีเสียงควบกล้ำในพยัญชนะท้าย
4. มีลักษณะเหมือนเสียงดนตรี

คลิกดูเฉลย
43. คำควบกล้ำในข้อใดมีเสียงควบกล้ำเป็นเสียงที่มีมาตั้งแต่ภาษาไทยดั้งเดิม


1. เฟรนฟรายด์
2. บรั่นดี
3. คริสตัล
4. จันทรา

คลิกดูเฉลย
44. จากลักษณะต่อไปนี้ ข้อใดไม่สามารถจำแนกคำไทยได้


1. มักจะเป็นคำพยางค์เดียว
2. มักจะสะกดตรงมาตรา
3. มีความหมายในตัวเอง
4. เป็นคำที่อ่านเนื่องเสียง

คลิกดูเฉลย
45. ข้อใดต่างจากพวก


1. แสร้ง
2. เศร้า
3. ทราบ
4. ผลิ

คลิกดูเฉลย

46. เป็นศรีแก่ปากผู้ ผจงฉันท์
คือคู่มาลาสรร เรียบร้อย
เป็นถนิมประดับกรรณ ทุกเมื่อ
กลกระแจะต้องน้อย หนึ่งได้แรงใจ
ข้อความนี้มีเสียงควบกล้ำและอักษรนำอย่างละกี่คำ


1. ควบกล้ำ 2 คำ อักษรนำ 2 คำ
2. ควบกล้ำ 2 คำ อักษรนำ 3 คำ
3. ควบกล้ำ 3 คำ อักษรนำ 2 คำ
4. ควบกล้ำ 4 คำ อักษรนำ 4 คำ

คลิกดูเฉลย
จงใช้ข้อความต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 47-48

“อันน้ำใจกวนอูนั้น ถ้าผู้ใดมีคุณแล้วเห็นจะเป็นเหมือนอิเยียว อันเล่าปี่กับกวนอูนั้นมิได้เป็นพี่น้องกัน ซึ่งมีความรักกันนั้น เพราะได้สาบานต่อกัน เล่าปี่เป็นแต่ผู้น้อย เลี้ยงกวนอูไม่ถึงขนาด กวนอูยังมีน้ำใจกตัญญูต่อเล่าปี่ จึงคิดจะติดตามมิได้ทิ้งเสีย...”

47. จากข้อความข้างต้น มีคำที่มีเสียงสระประสมกี่คำ


1. 6 คำ
2. 7 คำ
3. 8 คำ
4. 9 คำ

คลิกดูเฉลย
48. จากข้อความข้างต้น มีคำที่ประสมสระเกินกี่คำ


1. 10 คำ
2. 11 คำ
3. 12 คำ
4. 13 คำ

คลิกดูเฉลย
49. ข้อใดมีคำที่มีเสียงพยัญชนะท้ายมากที่สุด


1. ลางลิงลิงลอดไม้ ลางลิง
2. แลลูกลิงลงชิง ลูกไม้
3. ลิงลมไล่ลมติง ลิงโลด หนีนา
4. แลลูกลิงลางไหล้ ลอดเลี้ยว ลางลิง

คลิกดูเฉลย
50. ข้อใดมีวรรณยุกต์ไม่ครบห้าเสียง


1. ปางนั้นส่วนสมเด็จพระมัทรีศรีสุนทราเทพกัญญา
2. จำเดิมแต่พระนางเธอลีลาล่วงลับพระอาวาส
3. พระทัยนางให้หวั่นหวาดพะวงหลัง
4. ตั้งพระทัยเป็นทุกข์ถึงพระเจ้าลูกมิขาดสาย

คลิกดูเฉลย
51. คำในข้อใดเป็นพยางค์ปิดทั้ง 2 คำ


1. ประทิ่น ประมาท
2. น้ำมัน กะปิ
2. เกะกะ ห่วงใย
3. ลูกเสือ แม่น้ำ

คลิกดูเฉลย
52. รูปพยัญชนะที่ทำหน้าที่เป็นทั้งตัวสะกดและพยัญชนะต้นในข้อใดที่เป็นเสียงเดียวกัน


1. คัคนางค์
2.เอกราช
3. ชลนา
4. เทวทัต

คลิกดูเฉลย
53. ข้อใดมีเสียงสระสั้นทุกพยางค์


1. น้ำจิ้ม น้ำตาล น้ำหวาน น้ำมัน
2. แม่น้ำ แม่ทัพ แม่ยาย แม่สื่อ
3. นมข้น นมผง นมกล่อง นมสด
4. กระต่าย กระเต็น กระตั้ว กระปุก

คลิกดูเฉลย
54. ข้อใดมีคำที่ออกเสียงวรรณยุกต์ไม่ตรงกับรูปมากที่สุด


1. กาจับกาฝากต้น ตุมกา
2. กาลอดกาลามา ร่อนร้อง
3. เพกาหมู่กามา จับอยู่
4. กาม่ายมัดกาจ้อง กิ่งก้านกาหลง

คลิกดูเฉลย
จงใช้ตัวเลือกต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 55-60

ก. สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน
ข. ไม่เหมือนแม้นพจมานที่หวานหอม
ค. กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพยอม
ง. อาจจะน้อมจิตโน้มด้วยโลมลม

55. ข้อใดมีคำที่มีเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวมากที่สุด (ไม่นับเสียงซ้ำ)


1. ก.
2. ข.
3. ค.
4. ง.

คลิกดูเฉลย
56. ข้อใดไม่มีเสียงสระประสม


1. ก.
2. ข.
3. ค.
4. ง.

คลิกดูเฉลย
57. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดน้อยที่สุด (ไม่นับเสียงซ้ำ)


1. ก.
2. ข.
3. ค.
4. ง.

คลิกดูเฉลย
58. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบห้าเสียง


1. ก.
2. ข.
3. ค.
4. ง.

คลิกดูเฉลย
59. ข้อใดมีพยางค์เปิดน้อยที่สุด


1. ก.
2. ข.
3. ค.
4. ง.

คลิกดูเฉลย
60. ข้อใดประสมสระเสียงสั้นมากที่สุด


1. ก.
2. ข.
3. ค.
4. ง.

คลิกดูเฉลย
61. ข้อใดมีคำลหุมากที่สุด


1. ถ้าหากฉันเกิดเป็นนกที่โผบิน
2. ติดปีกบินไปให้ไกลไกลแสนไกล
3. จะขอเป็นนกพิราบขาว
4. ช่วยชี้นำชาวประชาสู่เสรี

คลิกดูเฉลย
ใช้ข้อความต่อไปนี้ ตอบคำถามข้อ 62-63

เสียทีก็มีชื่อ ได้เลื่องลือสรรเสริญ
สงสารว่ากรรมเกิน กำลังดอกจึงจมสูญ
62. ข้อความข้างต้นมีคำลหุกี่คำ


1. 1 คำ
2. 2 คำ
3. 3 คำ
4. 4 คำ

คลิกดูเฉลย
63. ข้อความข้างต้นมีคำตายกี่คำ


1. 1 คำ
2. 2 คำ
3. 3 คำ
4. 4 คำ

คลิกดูเฉลย
64. คำครุ-ลหุ จะปรากฏในฉันทลักษณ์ประเภทใด


1. ลิลิต
2. ร่ายยาว
3. คำฉันท์
4. กลอนนิราศ

คลิกดูเฉลย
65. คำในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกันทั้งสองคำ


1. กลบเกลื่อน
2. ทรุดโทรม
3. ว่องไว
4. โครมคราม

คลิกดูเฉลย
66. ข้อใดมีโครงสร้างพยางค์ต่างกับข้ออื่น


1. น้ำตาล
2. น้ำใจ
3. น้ำลาย
4. น้ำแดง

คลิกดูเฉลย
67. คำในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกันคำว่า “ปากกา”


1. ดักแด้
2. แหกตา
3. ทำนา
4. ท้องฟ้า

คลิกดูเฉลย
68. คำในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกันทั้งหมด


1. กิน สิน หิน ริน
2. ปัด จัด หั่น ตุ่ม
3. อย่า อยู่ อย่าง อยาก
4. ดิน น้ำ ทอง สวย

คลิกดูเฉลย
69. ข้อใดกล่าวถูกต้อง


1. คำลหุทุกคำเป็นคำตาย
2. พยางค์เปิดทุกพยางค์เป็นคำลหุ
3. คำตายทุกคำเป็นพยางค์เปิด
4. พยางค์เปิดทุกพยางค์เป็นคำตาย

คลิกดูเฉลย
70. ข้อใดมีจำนวนพยางค์น้อยที่สุด


1. กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
2. ศาลจังหวัดนครศรีธรรมราช
3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. คณบดีคณะอักษรศาสตร์

คลิกดูเฉลย