ภาษาพาสนุก

วันพุธที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2553

เกี่ยวข้องกับหลักสูตร

แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
























สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ






พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ )
พ.ศ. ๒๕๔๕ พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง และพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. ๒๕๔๕ มุ่งเน้นให้การปฏิรูประบบบริหารและการจัดการทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยให้มีเอกภาพทางนโยบายและมีความหลากหลายในทางปฏิบัติ มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกระทรวงศึกษาธิการได้มีคำสั่งให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในโรงเรียนต้นแบบและโรงเรียนที่มีความพร้อมใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๕๒ และใช้ในโรงเรียนทั่วประเทศ ในปีการศึกษา๒๕๕๓ โดยกำหนดให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีบทบาทสำคัญในการจัดทำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นเพื่อเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและความต้องการของท้องถิ่นสู่การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโดยคณะบุคคลผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย
เอกสารฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้โรงเรียนใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบองค์ประกอบในเอกสารหลักสูตรโรงเรียน เพื่อให้ทราบจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาปรับปรุงแก้ไข ให้มีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และบริบทของโรงเรียน
ขอขอบคุณคณะทำงาน คณะศึกษานิเทศก์และโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรที่ให้ข้อเสนอแนะในการนำเอกสารนี้ไปใช้ หากมีข้อคิดเห็นที่จะเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงแก้ไขเอกสาร คณะทำงานยินดีปรับปรุงเพื่อให้เอกสารมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น



สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน










เรื่อง หน้า
คำนำ
ส่วนที่ ๑ แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน .................................
ส่วนที่ ๒ องค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน .......................................................................
ส่วนที่ ๓ การตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน .............................................
ส่วนที่ ๔ สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน .....................
ภาคผนวก
รายชื่อคณะทำงาน ………………………………………………………………………...




๒๓
๒๘

๓๑


















แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน
วัตถุประสงค์
การตรวจสอบเอกสารหลักสูตรโรงเรียนมีวัตถุประสงค์ดังนี้
๑. เพื่อหาทางแก้ไขปรับปรุงสิ่งที่พบในองค์ประกอบหลักสูตร การตรวจสอบในลักษณะนี้สามารถทำในขณะที่กำลังยกร่างเอกสารหลักสูตรหรือในขณะที่นำหลักสูตรไปใช้ เพื่อพิจารณาว่าองค์ประกอบของหลักสูตรที่จัดทำมีความเหมาะสมและสอดคล้องเพียงใด เพื่อหาแนวทางแก้ไขและปรับปรุงให้ดีขึ้น
๒. เพื่อเป็นข้อมูลในการช่วยตัดสินใจของผู้บริหาร ก่อนการนำหลักสูตรไปใช้ เพื่อพิจารณาว่าหลักสูตรที่ยกร่างหรือจัดทำมีความครอบคลุมหรือไม่ และเมื่อโรงเรียนใช้หลักสูตรไปได้ระยะหนึ่ง ควรนำข้อมูลในส่วนนี้ไปสรุปรวมกับการประเมินคุณภาพของหลักสูตรว่า มีคุณภาพดีมากน้อยเพียงไร บรรลุตามมาตรฐานและตัวชี้วัดที่แกนกลางกำหนดหรือไม่ และเหมาะสมจะนำหลักสูตรนี้ไปใช้ต่อหรือไม่

ข้อเสนอแนะในการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน ดำเนินการดังนี้
๑. ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ
๒. สร้างความเข้าใจและชี้แจงวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรให้บุคลากรในโรงเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง
๓. ดำเนินการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียนเป็นรายบุคคล
๔. หลังจากการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตร ควรจัดให้มีการประชุมเสนอผลการตรวจสอบในภาพรวม ปัญหา ข้อแนะนำ เพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น













องค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน
การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเป็นการจัดทำเอกสารในระดับโรงเรียน โดยองค์คณะบุคคลได้แก่คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ เมื่อจัดทำเอกสารหลักสูตรโรงเรียนเสร็จเรียบร้อย การจัดทำรูปเล่มและการจัดแบ่งจำนวนเล่มของหลักสูตรโรงเรียนขึ้นอยู่กับการพิจารณาตามความเหมาะสมของโรงเรียน เพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการ และการนำไปใช้ ส่วนองค์ประกอบของหลักสูตรโรงเรียน หากไม่นับรวมปกของหลักสูตรและประกาศของโรงเรียนแล้ว ควรมีองค์ประกอบที่สำคัญของหลักสูตรโรงเรียน ดังนี้
๑. ส่วนนำ
- ความนำ
- วิสัยทัศน์โรงเรียน
- สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
- คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
๓. คำอธิบายรายวิชา
๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๕. เกณฑ์การจบการศึกษา

ทั้งนี้ ในการจัดทำรูปเล่มหลักสูตรโรงเรียนในส่วนของหน้าปกหลักสูตรโรงเรียนและประกาศโรงเรียนเรื่องให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนนั้น สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาได้กำหนดรูปแบบเป็นตัวอย่างให้โรงเรียนได้ปรับใช้ตามความเหมาะสม









ตัวอย่างที่ ๑ ปกหลักสูตรโรงเรียน



หลักสูตรโรงเรียน…………………….
พุทธศักราช ....... (ปีที่เริ่มใช้หลักสูตรโรงเรียน)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑







สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.............
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ





ตัวอย่างที่ ๒ ปกหลักสูตรโรงเรียน




หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียน…………………….
พุทธศักราช ....... (ปีที่เริ่มใช้หลักสูตรโรงเรียน)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑







สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.............
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



ตัวอย่างที่ ๑ ประกาศโรงเรียนเรื่องให้ใช้หลักสูตร





ประกาศโรงเรียน......................
เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียน ........................พุทธศักราช ........(ปีที่ใช้หลักสูตร)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑


................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่...... เดือน............ พ.ศ. ....... จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

ประกาศ ณ (วันที่/เดือน/ปี)


……………………………
(..........................................)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน …………………………… (..........................................)
ผู้อำนวยการโรงเรียน................




ตัวอย่างที่ ๒ ประกาศโรงเรียนเรื่องให้ใช้หลักสูตร





ประกาศโรงเรียน......................
เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียน ........................พุทธศักราช ........(ปีที่ใช้หลักสูตร)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑


................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่...... เดือน............ พ.ศ. ....... จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

ประกาศ ณ (วันที่/เดือน/ปี)


…………………………… (..........................................)
ผู้อำนวยการโรงเรียน...




๑. ส่วนนำ ประกอบด้วย
๑.๑ ความนำ
แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กับกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น จุดเน้น และความต้องการของโรงเรียน
๑.๒ วิสัยทัศน์โรงเรียน
เป็นเจตนารมณ์ อุดมการณ์ หลักการ ความเชื่อ อนาคตที่พึงประสงค์ เอกลักษณ์ของโรงเรียน เพื่อสร้างศรัทธา จุดประกายความคิดในการพัฒนาองค์กร และคุณภาพผู้เรียน ที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น จุดเน้น และความต้องการของโรงเรียน
๑.๓ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ระบุสมรรถนะจำเป็นพื้นฐาน ๕ ประการที่ผู้เรียนพึงมี ซึ่งกำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นั้น เป็นคุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และโรงเรียนอาจจะเพิ่มเติมตามจุดเน้นของโรงเรียนที่สอดคล้องกับกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นและวิสัยทัศน์ของโรงเรียนได้ตามความเหมาะสม

๒. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบด้วยโครงสร้างเวลาเรียนและโครงสร้างหลักสูตรชั้นปี
๒.๑ โครงสร้างเวลาเรียน เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระที่เป็นเวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนเพิ่มเติม และเวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำแนกแต่ละชั้นปี







ตัวอย่างที่ ๑ โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน
ระดับประถมศึกษา
ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
o ประวัติศาสตร์ (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐)
o ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
o หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐)
o เศรษฐศาสตร์
o ภูมิศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
 รายวิชา / กิจกรรม ที่สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม ตามความพร้อมและจุดเน้น ปีละ ๔๐ ชั่วโมง
 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
o กิจกรรมแนะแนว

o กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือยุวกาชาด






- ชุมนุม
o กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

รวมเวลา
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลาทั้งหมด ไม่เกิน ๑,๐๐๐ ชั่วโมง ไม่เกิน ๑,๐๐๐ ชั่วโมง
หมายเหตุ ให้โรงเรียนระบุเวลาเรียนตามที่โรงเรียนกำหนด

ตัวอย่างที่ ๒ โครงสร้างเวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ๖
 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.)
คณิตศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.)
วิทยาศาสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.)
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๑๖๐ (๔ นก.) ๓๒๐ (๘ นก.)
o ประวัติศาสตร์ ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
o ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

o หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ๑๒๐ (๓นก.) ๑๒๐ (๓นก.) ๑๒๐ (๓นก.) ๒๔๐ (๖นก.)
o ภูมิศาสตร์
o เศรษฐศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑๒๐ (๓นก.)
ศิลปะ ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
ภาษาต่างประเทศ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.)
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๑,๖๔๐ (๔๑ นก.)
 รายวิชาเพิ่มเติม ปีละไม่เกิน ๒๐๐ ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า ๑,๖๐๐ชั่วโมง
 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
o กิจกรรมแนะแนว

o กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือ ยุวกาชาดฯ




- ชุมนุม
o กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์
รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐
รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่เกิน ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี รวม ๓ ปี
ไม่น้อยกว่า ๓,๖๐๐ ชั่วโมง
หมายเหตุ ให้โรงเรียนระบุเวลาเรียนตามที่โรงเรียนกำหนด

๑๐

๒.๒ โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวิชาพื้นฐาน
รายวิชา / กิจกรรมเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ในแต่ละชั้นปี
ตัวอย่างที่ ๑ โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ปี)
รายวิชาพื้นฐาน ๘๔๐
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐
ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐
ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ๔๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐
รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม
ท๑๑๒๐๑ ทักษะการเขียน ๔๐
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐
 กิจกรรมแนะแนว ๓๐
 กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ๔๐
ชมรม/ชุมนุม ๔๐
 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น ๑,๐๐๐






๑๑
ตัวอย่างที่ ๒ โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ปี)
รายวิชาพื้นฐาน ๘๘๐
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๔๐

ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๐๐
ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐
ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐
ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ๔๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐
รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม
-- --
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐
 กิจกรรมแนะแนว ๔๐
 กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ๔๐
ชมรม/ชุมนุม ๓๐
 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น ๑,๐๐๐









๑๒

ตัวอย่างที่ ๓ โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน(ชม./ปี)
รายวิชาพื้นฐาน ๘๘๐
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๒๐๐
ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒๔๐

ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๘๐
ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐
ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐
พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๘๐
ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐
อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔๐
รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม
-- --
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐
 กิจกรรมแนะแนว ๓๕
 กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ๔๐
ชมรม/ชุมนุม ๔๐
 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๕
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น ๑,๐๐๐








๑๓
ตัวอย่างที่ ๔ โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ภาคเรียนที่ ๑ (หน่วยกิต/ชม.) ภาคเรียนที่ ๒ (หน่วยกิต/ชม.)
รายวิชาพื้นฐาน ๑๑ (๔๔๐) รายวิชาพื้นฐาน ๑๑ (๔๔๐)
ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐) ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๕ (๖๐)
ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐) ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๑.๕ (๖๐)
ส๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑.๕ (๖๐) ส๒๑๑๐๓ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑.๕ ( ๖๐)
ส๒๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๐.๕ (๒๐) ส๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๐.๕ (๒๐)
พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ (๔๐) พ๒๑๑๐๒ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ (๔๐)
ศ๒๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ (๔๐) ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๑ (๔๐)
ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑ (๔๐) ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑ (๔๐)
อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ๑.๕ (๖๐) อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ๑.๕ (๖๐)
รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๕ (๑๐๐) รายวิชาเพิ่มเติม ๒.๕ (๑๐๐)
ค๒๑๒๐๑ เสริมทักษะคณิตศาสตร์ ๐.๕ (๒๐) ค๒๑๒๐๒ คณิตศาสตร์ GSP ๐.๕ (๒๐)
อ๒๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๐.๕ (๒๐) ส๒๑๒๐๑ ท้องถิ่นของเรา ๐.๕ (๒๐)
ง๒๑๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๑ ๑ (๔๐) ง๒๑๒๐๓ คอมพิวเตอร์ ๒ ๑ (๔๐)
ง๒๑๒๐๒ งานประดิษฐ์ ๐.๕ (๒๐) ง๒๑๒๐๔ งานช่าง ๐.๕ (๒๐)
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๖๐
 กิจกรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมแนะแนว ๑๕
 กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ - เนตรนารี
ชุมนุม
๒๐
๑๕  กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ - เนตรนารี
ชุมนุม
๒๐
๑๕
 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๕  กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๐
รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น ๖๐๐ รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น ๖๐๐








๑๔
๓. คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา ประกอบด้วย รหัสวิชา ชื่อรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นปี
จำนวนเวลาเรียน และ/หรือหน่วยกิตที่สอนตลอดปีหรือตลอดภาคเรียน การเขียนคำอธิบายรายวิชา
เขียนเป็นความเรียง ระบุองค์ความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นภาพรวมที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนและสะท้อนตัวชี้วัดในรายวิชาพื้นฐาน หรือผลการเรียนรู้ในรายวิชาเพิ่มเติม และระบุรหัสตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชานั้น ๆ การเขียนคำอธิบายรายวิชาแต่ละระดับการศึกษา ควรเขียนภาพรวมของรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ว่ามีการจัดการเรียนการสอนวิชาอะไรบ้าง (ใบสรุปคำอธิบายรายวิชาแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้)

ตัวอย่างรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้

ตัวอย่างที่ ๑ รายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับประถมศึกษา

รายวิชาพื้นฐาน
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท๑๒๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท๑๔๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ท๑๖๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง

รายวิชาเพิ่มเติม
ท๑๑๒๐๑ ทักษะการพูด จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
ท๑๒๒๐๑ ทักษะการอ่าน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
ท๑๓๒๐๑ ทักษะการเขียน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
ท๑๔๒๐๑ วรรณกรรมท้องถิ่น จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
ท๑๕๒๐๑ การเขียนสร้างสรรค์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง
ท๑๖๒๐๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร จำนวน ๔๐ ชั่วโมง





๑๕

ตัวอย่างที่ ๒ รายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น


รายวิชาพื้นฐาน
ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต
ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต
ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต
ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต
ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต
ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๖๐ ชั่วโมง ๑.๕ หน่วยกิต

รายวิชาเพิ่มเติม
ท๒๑๒๐๑ เสริมทักษะการอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หน่วยกิต
ท๒๑๒๐๒ เสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกิต
ท๒๒๒๐๑ เสริมทักษะอ่านบทประพันธ์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หน่วยกิต
ท๒๒๒๐๒ เสริมทักษะการเขียนเรื่องสั้น จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หน่วยกิต
ท๒๓๒๐๑ เสริมทักษะการเขียนสร้างสรรค์ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑ หน่วยกิต
ท๒๓๒๐๒ เสริมทักษะการพูดในที่ชุมชน จำนวน ๒๐ ชั่วโมง ๐.๕ หน่วยกิต












๑๖
ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา
ระดับประถมศึกษา
ตัวอย่างที่ ๑ คำอธิบายรายวิชา

ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...........................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
รหัสตัวชี้วัด
ศ ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ศ ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ศ ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓,ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ศ ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ศ ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖
ศ ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวมทั้งหมด ๒๖ ตัวชี้วัด

ตัวอย่างที่ ๒ คำอธิบายรายวิชา

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เวลา ๘๐ ชั่วโมง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...........................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
รหัสตัวชี้วัด
ศ ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ศ ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ศ ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓,ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ศ ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ศ ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖
ศ ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวมทั้งหมด ๒๖ ตัวชี้วัด




๑๗
ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชา
ระดับมัธยมศึกษา
ตัวอย่างที่ ๑ คำอธิบายรายวิชา

ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...........................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
รหัสตัวชี้วัด
ระบุรหัสตัวชี้วัดที่แบ่งเป็นรายภาคตามความเหมาะสม
รวมทั้งหมด.......................ตัวชี้วัด


ตัวอย่างที่ ๒ คำอธิบายรายวิชา

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...........................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................................
รหัสตัวชี้วัด
ระบุรหัสตัวชี้วัดที่แบ่งเป็นรายภาคตามความเหมาะสม
รวมทั้งหมด.......................ตัวชี้วัด








๑๘
ตัวอย่างคำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

ตัวอย่างที่ ๑ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ระดับประถมศึกษา

ท๑๔๒๐๑ วรรณกรรมท้องถิ่น
รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...........................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
ผลการเรียนรู้
๑. ............................................................................
๒ .............................................................................
๓. ............................................................................
ฯลฯ
รวมทั้งหมด ......... ผลการเรียนรู้


ตัวอย่างที่ ๒ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ระดับประถมศึกษา

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ท๑๔๒๐๑ วรรณกรรมท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
...........................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................
ผลการเรียนรู้
๑. ............................................................................
๒ .............................................................................
๓. ............................................................................
ฯลฯ
รวมทั้งหมด ......... ผลการเรียนรู้



๑๙

ตัวอย่างที่ ๓ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษา

ท๒๒๒๐๑ เสริมทักษะอ่านบทประพันธ์
รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หน่วยกิต
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
ผลการเรียนรู้
๑. ............................................................................
๒ .............................................................................
๓. ............................................................................
ฯลฯ
รวมทั้งหมด ....... ผลการเรียนรู้



ตัวอย่างที่ ๔ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ระดับมัธยมศึกษา

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ท๒๒๒๐๑ เสริมทักษะอ่านบทประพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑ หน่วยกิต
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................
ผลการเรียนรู้
๑. ............................................................................
๒ .............................................................................
๓. ............................................................................
ฯลฯ
รวมทั้งหมด ....... ผลการเรียนรู้



๒๐
๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แนวการเขียนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของโรงเรียน แยกเป็น ๓ กิจกรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้แก่ ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนักเรียน และ ๓) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในแต่ละกิจกรรมให้ระบุแนวการจัดกิจกรรม
เวลาการจัดกิจกรรม และแนวทางการประเมินกิจกรรมที่โรงเรียนกำหนด

ตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเอง ได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
โรงเรียน....................................................................... ได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยแบ่งออกเป็น ๓ ลักษณะ ดังนี้
๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้........................................
.................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………
นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนว ๔๐ ชั่วโมงต่อปีการศึกษา (ระดับประถมศึกษา)๒๐ ชั่วโมงต่อภาคเรียน (ระดับมัธยมศึกษา)
แนวการจัดกิจกรรมแนะแนว
............................................................................................................................
...................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้.........................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................ กิจกรรมนักเรียนประกอบด้วย
๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ...... ชั่วโมงต่อปีการศึกษา (ระดับประถมศึกษา) ......... ชั่วโมงต่อภาคเรียน (ระดับมัธยมศึกษา)


๒๑
แนวการจัดกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด
.............................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
๒.๒ กิจกรรมชุมนุม นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุม ...... ชั่วโมงต่อปีการศึกษา (ระดับประถมศึกษา) ........ ชั่วโมงต่อภาคเรียน (ระดับมัธยมศึกษา)
แนวการจัดกิจกรรมชุมนุม
................................................................................ ....................................................................................................................................................
............................................................................................................................…………………
( หมายเหตุ สามารถระบุชื่อกิจกรรมชุมนุมที่โรงเรียนจัดให้นักเรียนเลือกเรียน หรือชื่อกิจกรรมชุมนุมที่ โรงเรียนจัดให้มี)
๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้ ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………
นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ...... ชั่วโมงต่อปีการศึกษา (ระดับประถมศึกษา) ......... ชั่วโมงต่อภาคเรียน (ระดับมัธยมศึกษา)
แนวการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ .................................................................................... ...................................................................................................................................................
............................................................................................................................................……..
.....................................................................................................................................................
แนวทางการประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
...........................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
( หมายเหตุ การประเมินผลอาจเขียนแยกการประเมินผลแต่ละกิจกรรม หรือเขียนรวมในภาพรวมของ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนก็ได้ )
๒๒

๕. เกณฑ์การจบการศึกษา
กำหนดเกณฑ์การจบการศึกษาของโรงเรียนให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ แยกตามระดับการศึกษาที่โรงเรียนเปิดสอนอย่างชัดเจน

ตัวอย่าง










การตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน


วัตถุประสงค์
๑. เพื่อตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียนว่ามีองค์ประกอบครบถ้วนและสอดคล้อง
กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๒. เพื่อนำผลการตรวจสอบไปปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรโรงเรียนให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น

วิธีดำเนินการ
๑. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้เกี่ยวข้องตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน
๒. โรงเรียนนำผลการตรวจสอบ มาอภิปรายร่วมกันและสรุปเป็นภาพรวมของโรงเรียน
และพิจารณาหาแนวทางปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น













๒๔


แบบตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน


โรงเรียน …….……………………………….. อำเภอ ………………………. จังหวัด …………………….
สพท. ……………………………………………เขต………………………..……………………………...


คำชี้แจง
ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้ที่เกี่ยวข้องดำเนินการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน ตามลำดับดังนี้
๑. ตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วเขียนเครื่องหมาย ลงในช่องผลการตรวจสอบตามความเป็นจริง
๒. บันทึกแนวทางในการปรับปรุง/แก้ไขแต่ละรายการเพื่อให้โรงเรียนนำไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนต่อไป
๓. หากมีข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะอื่น ให้บันทึกลงในข้อเสนอแนะ อื่นๆ
๔. สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน โดยเขียนเครื่องหมาย ลงในตารางแสดงผล การตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน


การให้ระดับคุณภาพ
คณะกรรมการฯ ให้ระดับคุณภาพตามที่ได้พิจารณาตรวจสอบหลักสูตรสถานศึกษา โดยเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับคุณภาพ ดังนี้
ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ครบถ้วน ถูกต้อง สอดคล้อง เหมาะสม ทุกรายการ
ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง มีครบทุกรายการ แต่มีบางรายการควรปรับปรุงแก้ไข
ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ไม่มี มีไม่ครบทุกรายการ ไม่สอดคล้อง ต้องปรับปรุงแก้ไขหรือ
เพิ่มเติม





๒๕
องค์ประกอบของหลักสูตรโรงเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
รายการ ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข
๓ ๒ ๑
๑ ส่วนนำ
๑.๑ ความนำ
แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น จุดเน้น และความต้องการ ของโรงเรียน
๑.๒วิสัยทัศน์
๑.๒.๑ แสดงภาพอนาคตที่พึงประสงค์ของผู้เรียนที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑อย่างชัดเจน
๑.๒.๒ แสดงภาพอนาคตที่พึงประสงค์ของผู้เรียนสอดคล้องกับกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
๑.๒.๓ แสดงภาพอนาคตที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ครอบคลุมสภาพความต้องการของโรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น
๑.๒.๔ มีความชัดเจนสามารถปฏิบัติได้
๑.๓ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
มีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑.๔.๑ มีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๑.๔.๒ มีความสอดคล้องกับเป้าหมายจุดเน้น กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น
๑.๔.๓ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน
๒. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
๒.๑ โครงสร้างเวลาเรียน
๒.๑.๑ มีการระบุเวลาเรียนของ ๘ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ ที่เป็นเวลาเรียนพื้นฐานและเพิ่มเติม จำแนกแต่ละชั้นปีอย่างชัดเจน
๒.๑.๒ มีการระบุเวลาจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจำแนกแต่ละชั้นปีอย่างชัดเจน
๒.๑.๓ เวลาเรียนรวมของหลักสูตรสถานศึกษาสอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑


๒๖

รายการ ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข
๓ ๒ ๑
๒.๒ โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี
๒.๒.๑ มีการระบุรายวิชาพื้นฐานทั้ง ๘ กลุ่มสาระสารเรียนรู้ พร้อมทั้งระบุเวลาเรียนและหรือหน่วยกิต
๒.๒.๒ มีการระบุรายวิชาเพิ่มเติมที่สถานศึกษากำหนด พร้อมทั้งระบุเวลาเรียนและหรือหน่วยกิต
๒.๒.๓ มีการระบุกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน พร้อมทั้งระบุเวลาเรียน
๒.๒.๔ มีรายวิชาพื้นฐานที่ระบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา จำนวนเวลาเรียน และหรือหน่วยกิต ไว้อย่างถูกต้องชัดเจน
๒.๒.๕ มีรายวิชาเพิ่มเติม / กิจกรรมเพิ่มเติม สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ จุดเน้นของโรงเรียน
๓. คำอธิบายรายวิชา
๓.๑ มีการระบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา และชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ไว้อย่างถูกต้องชัดเจน
๓.๒ มีการระบุชั้นปีที่สอนและจำนวนเวลาเรียนและ/หรือหน่วยกิต ไว้อย่างถูกต้องชัดเจน
๓.๓ การเขียนคำอธิบายรายวิชา เขียนเป็นความเรียง โดยระบุองค์ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะหรือ เจตคติที่ต้องการ
๓.๔ มีการจัดทำคำอธิบายรายวิชาพื้นฐานครอบคลุมตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๓.๕ มีการระบุรหัสตัวชี้วัด ในรายวิชาพื้นฐาน และจำนวนรวมของตัวชี้วัด
๓.๖ มีการระบุผลการเรียนรู้ ในรายวิชาเพิ่มเติม และจำนวนรวมของผลการเรียนรู้
๓.๗ มีการกำหนดสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นสอดแทรก อยู่ในคำอธิบายรายวิชาพื้นฐานหรือรายวิชาเพิ่มเติม
๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๔.๑ จัดกิจกรรมทั้ง ๓ กิจกรรมตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

๒๗
รายการ ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ ปรับปรุง/แก้ไข
๓ ๒ ๑
๔.๒ จัดเวลาทั้ง ๓ กิจกรรมสอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๔.๓ มีแนวทางการจัดกิจกรรมที่ชัดเจน
๔.๔ มีแนวทางการประเมินกิจกรรมที่ชัดเจน
๕. เกณฑ์การจบการศึกษา
๕.๑ มีการระบุเวลาเรียน/หน่วยกิต รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ตามเกณฑ์การจบหลักสูตรของโรงเรียนไว้อย่างชัดเจนและสอดคล้องกับโครงสร้างหลักสูตรของโรงเรียน
๕.๒ มีการระบุเกณฑ์การประเมินการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียนไว้อย่างชัดเจน
๕.๓ มีการระบุเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ไว้อย่างชัดเจน
๕.๔ มีการระบุเกณฑ์การผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ไว้อย่างชัดเจน

ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
ลงชื่อ ………………………………… ผู้ตรวจสอบ
( …………………………….... )
ตำแหน่ง ...................................................
………/………../………







สรุปผลการตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน
โรงเรียน..............................................................อำเภอ.......................................................
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา………………… เขต …..
***********************
ตอนที่ ๑ ตารางแสดงผล การตรวจสอบภาพรวมองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน
ที่ รายการตรวจสอบโรงเรียน ผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตร
ระดับคุณภาพ
๓ ๒ ๑
๑ ส่วนนำ
๒ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
๓ คำอธิบายรายวิชา
๔ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๕ เกณฑ์การจบการศึกษา

ตอนที่ ๒ สรุปผลการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียน จุดเด่น จุดที่ต้องเพิ่มเติมและพัฒนา
จุดเด่นของหลักสูตรโรงเรียน
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
/จุดที่ต้องเพิ่ม...
๒๙
จุดที่ต้องเพิ่มเติม /พัฒนา
๑ . ส่วนนำ
๑.๑ ความนำ
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๑.๒ วิสัยทัศน์โรงเรียน
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๑.๓. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๑.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๒. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๓. คำอธิบายรายวิชา
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๔. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
๕. เกณฑ์การจบการศึกษา
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ลงชื่อ................................................... ผู้รับรองข้อมูล
(.......................................................)
ตำแหน่ง ..................................................






































ที่ปรึกษา
๑. นางเบญจาลักษณ์ น้ำฟ้า ผู้อำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๒. นางภาวนี ธำรงเลิศฤทธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๓. นางสาวรุ่งนภา นุตราวงศ์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
คณะทำงานจัดทำเอกสาร ครั้งที่ ๑
๑. นายมนตรี อุสาหะ ศึกษานิเทศก์ สพท.ลพบุรี เขต ๑ ประธาน
๒. ว่าที่ ร.ต.อุดมศักดิ์ ธนะกิจรุ่งเรือง นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา รองประธาน
๓. นางฉัตรแก้ว เภาวิเศษ ศึกษานิเทศก์ สพท.กรุงเทพมหานคร เขต ๓ กรรมการ
๔. นางสาวรัชนีวัลย์ จุลบาท ศึกษานิเทศก์ สพท.ศรีสะเกษ เขต ๓ กรรมการ
๕. นางทัศนีย์ สุวรรณพงษ์ ศึกษานิเทศก์ สพท.สมุทรสาคร กรรมการ
๖. นางธนาลัย ลิมปรัตนคีรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห์ ๑” กรรมการ
๗. นางภาวนี ธำรงเลิศฤทธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๘. นางปานทิพย์ จตุรานนท์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๙. นางมัทนา มรรคผล นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๑๐. นายอนุจินต์ ลาภธนาภรณ์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการและเลขานุการ
คณะทำงานจัดทำเอกสาร ครั้งที่ ๒ และ ๓
๑. นายมนตรี อุสาหะ ศึกษานิเทศก์ สพท.ลพบุรี เขต ๑ ประธาน
๒. ว่าที่ ร.ต.อุดมศักดิ์ ธนะกิจรุ่งเรือง นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา รองประธาน
๓. นายชาติ แจ่มนุช ศึกษานิเทศก์ สพท.กรุงเทพมหานคร เขต ๑ กรรมการ
๔. นางสาวนวลน้อย เจริญผล ศึกษานิเทศก์ สพท.กรุงเทพมหานคร เขต ๒ กรรมการ
๕. นางไพเราะ มีบางยาง ศึกษานิเทศก์ สพท.กรุงเทพมหานคร เขต ๓ กรรมการ
๖. นางฉัตรแก้ว เภาวิเศษ ศึกษานิเทศก์ สพท.กรุงเทพมหานคร เขต ๓ กรรมการ
๗. นางทัศนีย์ สุวรรณพงษ์ ศึกษานิเทศก์ สพท.สมุทรสาคร กรรมการ
๘. นางวนิดา ปาณีนิจ ศึกษานิเทศก์ สพท.ร้อยเอ็ด เขต ๑ กรรมการ
๙. นายประกอบ มณีโรจน์ ศึกษานิเทศก์ สพท.สงขลา เขต ๒ กรรมการ

๓๒

๑๐. น.ส.รัชนีวัลย์ จุลบาท ศึกษานิเทศก์ สพท.ศรีสะเกษ เขต ๓ กรรมการ
๑๑. นายมานิต สิทธิศร ศึกษานิเทศก์ สพท.ศรีสะเกษ เขต ๔ กรรมการ
๑๒. นางบุญรวย ช่วยปลัด ศึกษานิเทศก์ สพท.สุราษฎร์ธานี เขต ๒ กรรมการ
๑๓. นางประภา ภัทรธำรง ศึกษานิเทศก์ สพท.ภูเก็ต กรรมการ
๑๔. นายอาทร จันทร์แดง ศึกษานิเทศก์ สพท.พัทลุง เขต ๒ กรรมการ
๑๕. นางธนาลัย ลิมปรัตนคีรี ผู้อำนวยการโรงเรียนบางปะอิน “ราชานุเคราะห์ ๑” กรรมการ
๑๖. นายณรงค์ศิลป์ ธูปพนม รองผู้อำนวยการ สสวท. กรรมการ
๑๗. น.ส.จารุวรรณ แสงทอง ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท. กรรมการ
๑๘. นายอุปการ จีระพันธุ หัวหน้าโครงการเทคโนโลยี สสวท. กรรมการ
๑๙. นางสุคนธ์ สินธพานนท์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๒๐. น.ส.มาลี โตสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๒๑. นางประไพ ปิ่นสุวรรณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๒๒. นางภาวนี ธำรงเลิศฤทธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๒๓. นางเกยูร ปริยพฤทธ์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๒๔. นางปานทิพย์ จตุรานนท์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๒๕. น.ส.รัตนา แสงบัวเผื่อน นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๒๖. นางมัทนา มรรคผล นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๒๗. นายอนุจินต์ ลาภธนาภรณ์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการและเลขานุการ
บรรณาธิการกิจ
๑. นางสาวจิตรา พิณโอภาส ศึกษานิเทศก์ สพท.กรุงเทพมหานคร เขต ๒
๒. น.ส.รัชนีวัลย์ จุลบาท ศึกษานิเทศก์ สพท.ศรีสะเกษ เขต ๓
๓. นางทัศนีย์ สุวรรณพงษ์ ศึกษานิเทศก์ สพท.สมุทรสาคร
๔. นางเกสร ทองแสน ศึกษานิเทศก์ สพท.กาฬสินธุ์ เขต ๒
๕. นางภาวนี ธำรงเลิศฤทธิ์ รองผู้อำนวยการสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๖. ว่าที่ ร.ต.อุดมศักดิ์ ธนะกิจรุ่งเรือง นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๗. นางปานทิพย์ จตุรานนท์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๘. นางมัทนา มรรคผล นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
๙. นายอนุจินต์ ลาภธนาภรณ์ นักวิชาการศึกษา สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น